1 / 44

Knowledge Based OTOP:KBO

แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่าย องค์ความรู้ชุมชนมุ่งสู่การเป็น. Knowledge Based OTOP:KBO. ทีมชลบุรี 2550. +. ต้นทุนทางธรรมชาติ. ต้นทุนทางวัฒนธรรม. ทะเลงาม ข้าวหลามอร่อย อ้อยหวาน จักสานดี ประเพณีวิ่งควาย. ชุมชนอยู่ดีมีสุข. การพัฒนาคนในชุมชน. แผนยุทธศาสตร์จังหวัด.

yanni
Download Presentation

Knowledge Based OTOP:KBO

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายแนวทางการขับเคลื่อนเครือข่าย องค์ความรู้ชุมชนมุ่งสู่การเป็น Knowledge Based OTOP:KBO ทีมชลบุรี2550

  2. + ต้นทุนทางธรรมชาติ ต้นทุนทางวัฒนธรรม ทะเลงาม ข้าวหลามอร่อย อ้อยหวาน จักสานดีประเพณีวิ่งควาย ชุมชนอยู่ดีมีสุข การพัฒนาคนในชุมชน แผนยุทธศาสตร์จังหวัด

  3. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน Road Map คณะทำงาน KBO ศึกษาข้อมูล จาก TN เลือกกลุ่มสินค้า OTOPเพื่อพัฒนา วิเคราะห์ความต้องการจัดกลุ่ม ขั้นศึกษา เตรียมการ ขั้นปฏิบัติการ ขั้นสรุปและประเมิน

  4. วิสัยทัศน์ (Vision) “บูรณาการองค์ความรู้สู่ OTOP OTOPสร้างงาน งานสร้างชุมชน”

  5. พันธกิจ (Mission ) 1.ประสานความร่วมมือทุกเครือข่ายเพื่อพัฒนา OTOP 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา OTOP สู่ชุมชน 3.ส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการ OTOP ให้สร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐาน 4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ OTOP ต้นแบบที่ได้มาตรฐานสู่ชุมชน

  6. เป้าประสงค์ • ชุมชนได้รับความรู้จากเครือข่าย KBO • ผู้ประกอบการมีผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน • มีOTOPที่ได้มาตรฐานเพิ่มมากขึ้น • มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ อย่างเข้มแข็ง

  7. OTOP อนุกรรมการ KBO2 ทีม Goal แผนยุทธศาสตร์ KBOที่เข้มแข็ง บูรณาการแหล่งความรู้ในจังหวัดชลบุรีให้เข้ามามีส่วนร่วมในOTOP พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ OTOPในจังหวัดชลบุรี ผู้ประกอบการOTOPมีการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนอื่น Road Map

  8. กรอบการคัดสรรกลุ่ม มี OTOP จำนวน 143 กลุ่ม เลือก OTOP ที่ได้ 1- 3 ดาวมา 20 กลุ่มประกอบด้วย

  9. โครงสร้างKBOจังหวัดชลบุรีโครงสร้างKBOจังหวัดชลบุรี คณะทำงาน KBOจ.ชลบุรี • ส่วนราชการ • สาธารณสุขจังหวัด • ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค9 • เกษตรและสหกรณ์จังหวัด • อุตสาหกรรมจังหวัด • เกษตรจังหวัด • พาณิชย์จังหวัด • ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ • ท้องถิ่นจังหวัด • สถาบันฝีมือแรงงานภาค3 • ศูนย์การท่องเที่ยวกีฬาฯ • สหกรณ์จังหวัด • พัฒนาชุมชนจังหวัด • สถาบันการเงิน/เอกชน/ประชาชน • หอการค้าจังหวัดชลบุรี • สภาอุตสาหกรรมจังหวัด • องค์การบริหารส่วนจังหวัด • เครือข่ายOTOPจ.ชลบุรี • ธนาคารออมสิน • ธนาคาร ธกส.ชลบุรี • ธนาคารวิสาหกิจขนาดกลาง • และขนาดย่อม • ปราชญ์ชาวบ้าน • สถาบันการศึกษา • ม.ศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี • ม.เทคโนโลยีราชมงคลภาค • ตะวันออก • ว.อาชีวศึกษาชลบุรี • ว.เกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี • ม.บูรพา • ว.เทคนิคชลบุรี • ว.การอาชีพ พนัสนิคม

  10. Knowledge – Based OTOP Model ชุมชน สถาบัน การศึกษา หน่วยงาน และองค์กร ในจังหวัด OTOP

  11. โครงสร้างการดำเนินงานโครงสร้างการดำเนินงาน คณะกรรมการ KBO ของ จ.ชลบุรี คณะอนุกรรมการ ประเภทอาหาร คณะอนุกรรมการ ประเภทเครื่องใช้

  12. โครงสร้างคณะอนุกรรมการประเภทอาหารโครงสร้างคณะอนุกรรมการประเภทอาหาร ที่ปรึกษา

  13. โครงสร้างคณะอนุกรรมการประเภทเครื่องใช้โครงสร้างคณะอนุกรรมการประเภทเครื่องใช้ ที่ปรึกษา

  14. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน KBO-OTOP ธ.ค.50 6.สรุปประเมินผล นำเสนอผลงาน ประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นRole Model พ.ย. 50 5.สร้างการเรียนรู้และ พัฒนาผลิตภัณฑ์ นำร่อง ต.ค.50 ต.ค.50 4.ทำMOUกับ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 3.แต่งตั้ง อนุกรรมการ 2ทีม ก.ย.50 ก.ย.50 2.คัดเลือก ผลิตภัณฑ์ นำร่อง 1.ประชุม ร่วมกันและสำรวจ ผู้เชี่ยวชาญ

  15. แผนปฏิบัติการ 4 เดือน(ก.ย.-ธ.ค.50)

  16. แผนปฏิบัติการ 4 เดือน(ก.ย.-ธ.ค.50)

  17. แผนปฏิบัติการ 3 ปี (2550-2552)

  18. Road Map การขับเคลื่อน KBO-OTOP • ประชุมร่วมกันระหว่าง • ภาครัฐ ภาคเอกชน • สถาบันการศึกษา • ผู้ประกอบการ

  19. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน KBO-OTOP • 2.คัดเลือกผลิตภัณฑ์นำร่อง • ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร 1 กลุ่ม • ผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้ 1 กลุ่ม

  20. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน KBO-OTOP 3.แต่งตั้งอนุกรรมการ2ทีม ในแต่ละทีม แบ่งเป็นฝ่ายฝึกอบรมและพัฒนา ฝ่ายการออกแบบผลิตภัณฑ์/การตลาด และฝ่ายการติดตามผล โดยมีคณะกรรมการชุมชน เป็นที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ

  21. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน KBO-OTOP 4.ทำMOUกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน • ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร • ม.ศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี • ม.เทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก • ว.อาชีวศึกษาชลบุรี • ว.เกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี • หอการค้าจังหวัดชลบุรี • สถานที่: ม.เทคโนโลยีราชมงคล ภาคตะวันออก • ผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องใช้ • ม.บูรพา • ว.เทคนิคชลบุรี • ว.การอาชีพ พนัสนิคม • หอการค้าจังหวัดชลบุรี • สถานที่: ว.การอาชีพ พนัสนิคม

  22. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน KBO-OTOP • 5.สร้างการเรียนรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์นำร่อง • วิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรม • ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องต่อไปนี้ • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • การบริหารจัดการองค์กร

  23. คัดเลือกผลิตภัณฑ์นำร่องคัดเลือกผลิตภัณฑ์นำร่อง ทุนทางวัฒนธรรมที่จำเป็นต้องต่อยอด และสร้างอัตลักษ์ท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ประเภทของใช้ 1 กลุ่ม กลุ่มจักสาน

  24. ปัญหากลุ่มจักสาน • ขาดแคลนแรงงานที่มีฝีมือ • ขาดความหลากหลายในรูปแบบของผลิตภัณฑ์ • ผู้ประกอบการขาดความเข้าใจ - การจัดการองค์กร - การตลาด - เทคนิคด้านการผลิต - การพัฒนาผลิตภัณฑ์ -ช่องทางการจัดจำหน่าย

  25. ความต้องการของกลุ่มจักสานความต้องการของกลุ่มจักสาน • ขยายตลาด • การบริหารจัดการด้านแรงงาน • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • การเสริมศักยภาพด้านการบริหารจัดการกลุ่ม

  26. คัดเลือกผลิตภัณฑ์นำร่องคัดเลือกผลิตภัณฑ์นำร่อง ทุนทางวัฒนธรรมที่จำเป็นต้องต่อยอด และสร้างอัตลักษ์ท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร 1 กลุ่ม คือ ซอสพริกศรีราชา

  27. ปัญหากลุ่มซอสพริก ผู้ประกอบการขาดความเข้าใจ - การจัดการองค์กร - เทคนิคด้านการผลิต - การพัฒนาผลิตภัณฑ์ - ช่องทางการจัดจำหน่าย

  28. ความต้องการของกลุ่มซอสพริกความต้องการของกลุ่มซอสพริก • ขยายตลาด • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • การเสริมศักยภาพด้านการบริหารจัดการกลุ่ม

  29. หลักสูตรพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนหลักสูตรพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชน การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ:การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • 4.การสร้างตราสินค้า • การตั้งชื่อและออกแบบตรา • สินค้า • การจดเครื่องหมายการค้า • การประชาสัมพันธ์ตราสินค้า • 3.มาตรฐานผลิตภัณฑ์ • ทำอย่างไรให้ได้ • มาตรฐานผลิตภัณฑ์ • 2.การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ • การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้ • เหมาะสมกับตลาด • การออกแบบบรรจุภัณฑ์ • การจัดการบรรจุภัณฑ์ • 1.การพัฒนาตัวสินค้า • การจัดการบริหารวัตถุดิบ • การพัฒนานวัตกรรม • เทคโนโลยีการผลิต • การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ • วิธีการจัดเก็บวัตถุดิบและ • ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป

  30. หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาตัวสินค้า • หลักสูตร(6 ช.ม.)งบประมาณ/บาท • การจัดการบริหารวัตถุดิบ(1 ช.ม.)5,800 • การพัฒนวัตกรรมและ • เทคโนโลยีการผลิต (2 ช.ม.) 11,600 • การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ (2 ช.ม.) 11,600 • วิธีการจัดเก็บวัตถุดิบและ 5,800 • ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป (1 ช.ม.)

  31. หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ • หลักสูตร(6 ช.ม.)งบประมาณ(บาท) • การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้ • เหมาะสมกับตลาด(1 ช.ม.) 5,800 • การออกแบบบรรจุภัณฑ์(2ช.ม.) 11,600 • การจัดการบรรจุภัณฑ์(3ช.ม.) 17,400

  32. หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ • หลักสูตร(3 ช.ม.)งบประมาณ(บาท) • ทำอย่างไรให้ได้ • มาตรฐานผลิตภัณฑ์ (3 ช.ม.) 17,400

  33. หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้างตราสินค้า • หลักสูตร (3ช.ม.)งบประมาณ(บาท) • การตั้งชื่อและออกแบบตราสินค้า (1 ช.ม.) 5,800 • การจดเครื่องหมายการค้า (1 ช.ม.) 5,800 • การประชาสัมพันธ์ตราสินค้า(1 ช.ม.) 5,800

  34. หลักสูตรพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนหลักสูตรพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชน การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ: การบริหารจัดการองค์กร • 3.การตลาด • พฤติกรรมผู้บริโภค • ช่องทางการจัดจำหน่าย • และเทคนิคการกระจายสินค้า • แนวทางการสร้างสรรค์ • ผลิตภัณฑ์ • เทคนิคการขายและการ • เจรจาต่อรอง • การจัดแสดงสินค้าและการ • ประชาสัมพันธ์ • กลยุทธ์การกำหนดราคา • 2.การเงิน-การบัญชี • การบันทึกระบบ • บัญชี • บัญชีต้นทุน • 1.การบริหารงานบุคคล • ทัศนคติและการสร้าง • แรงจูงใจ • การทำงานเป็นทีมและ • การบริหารความขัดแย้ง • การบริหารจัดการองค์การ

  35. หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการบริหารจัดการองค์กรหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการบริหารจัดการองค์กร การบริหารงานบุคคล • หลักสูตร(6ช.ม)งบประมาณ(บาท) • ทัศนคติและการสร้างแรงจูงใจ (2ช.ม) 11,600 • การทำงานเป็นทีมและ • การบริหารความขัดแย้ง (2ช.ม) 11,600 • การบริหารจัดการองค์การ (2ช.ม) 11,600

  36. หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการบริหารจัดการองค์กรหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการบริหารจัดการองค์กร การเงิน-การบัญชี • หลักสูตร (6ช.ม)งบประมาณ(บาท) • การบันทึกระบบบัญชี (3ช.ม) 17,400 • บัญชีต้นทุน (3ช.ม)17,400

  37. หลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการบริหารหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการบริหาร ด้านการตลาด • หลักสูตร (18ช.ม) งบประมาณ(บาท) • พฤติกรรมผู้บริโภค (3ช.ม) 17,400 • ช่องทางการจัดจำหน่ายและเทคนิคการกระจายสินค้า (3ช.ม) 17,400 • แนวทางการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ (6ช.ม) 34,800 • เทคนิคการขายและการ เจรจาต่อรอง (2ช.ม) 11,600 • กลยุทธ์การกำหนดราคา (2ช.ม)11,600 • การจัดแสดงสินค้าและการประชาสัมพันธ์ (2ช.ม) 11,600

  38. สรุปหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการสรุปหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ • รวม 22 หลักสูตร48ช.ม. • ใช้ระยะเวลาในการดำเนินการ 1 เดือน • ใช้งบประมาณทั้งหมด 278,400 บาท

  39. แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน KBO-OTOP 6.สรุปประเมินผลนำเสนอผลงานประชาสัมพันธ์เพื่อเป็น Role Model

  40. การสรุปและประเมินผล KPI มีคณะกรรมการ KBOจังหวัด รายงานสรุปผล ประชาสัมพันธ์ มีอนุกรรมการ KBO2ทีม ได้OTOP ที่ได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น มีเครือข่ายองค์ความรู้ และพัฒนาเครือข่าย

  41. คำถาม-คำตอบ

  42. ตัวแทนKBOของ จ.ชลบุรี • ดร. ปาริชาติ คุณปลื้ม ประธาน • คุณพสิษฐ์ พรหมภักดี รองประธาน • คุณสุดใจ ผ่องแผ้ว กรรมการ • อ. พรรณี ขอบบัวคลี่ กรรมการ • อ. สมาน สรรพศรี กรรมการ • คุณอนันต์ อิ่มสมบูรณ์ กรรมการ • คุณวันพร จันทร์เวโรจน์ เลขานุการ • ดร. นิภาพร ก้านทอง ผู้ช่วยเลขาฯ

  43. ด้วยความขอบคุณ จาก...กลุ่มชลบุรี

More Related