5.68k likes | 11.28k Views
หลักสูตรการฝึกอบรม. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเครน( ปั้นจั่น ) และข้อดีข้อเสีย สัญลักษณ์ในรถตามมาตรฐานสากล การตรวจเช็คและการบำรุงรักษาเครน ( ปั้นจั่น ) เบื้องต้น กฎระเบียบและข้อควรระมัดระวังในการใช้เครน ( ปั้นจั่น ) การอ่านโหลดชาร์ทและองค์ประกอบต่างๆ การใช้สัญญาณมือตามมาตรฐานสากล
E N D
หลักสูตรการฝึกอบรม • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเครน( ปั้นจั่น ) และข้อดีข้อเสีย • สัญลักษณ์ในรถตามมาตรฐานสากล • การตรวจเช็คและการบำรุงรักษาเครน ( ปั้นจั่น ) เบื้องต้น • กฎระเบียบและข้อควรระมัดระวังในการใช้เครน ( ปั้นจั่น ) • การอ่านโหลดชาร์ทและองค์ประกอบต่างๆ • การใช้สัญญาณมือตามมาตรฐานสากล • ความรู้เกี่ยวกับสลิงและการตรวจเช็ค • ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์การช่วยยกและวิธีการตรวจเช็ค • เทคนิคการยึดชิ้นงานก่อนที่จะยกและวิธีการยกด้วยความระมัดระวัง • การคำนวณน้ำหนักในการยกและองค์ประกอบต่างๆ • กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครน ( ปั้นจั่น ) และอื่นๆ • ภาคปฎิบัติ
หลักสูตร “ การใช้เครนชนิดอยู่กับที่ ( Stationary Crane )และอุปกรณ์การยก อย่างไรให้ปลอดภัย ”
เครน( Cranes) • เครน ตามภาษาของทางราชการ เรียกว่า “ ปั้นจั่น ’’ “ ปั้นจั่น ” หมายความว่า เครื่องจักรกลที่ใช้ยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่งและเคลื่อนย้ายสิ่งของเหล่านั้น ในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ
ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ ( Mobile Cranes ) หมายความว่า ปั้นจั่นที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุมและเครื่องต้นกำลังอยู่ในตัว ซึ่งติดตั้งอยู่บนยานที่ขับเคลื่อนในตัวเอง ปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ ( Stationary Cranes ) หมายความว่า ปั้นจั่นที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุมและเครื่องต้นกำลังอยู่ในตัว ซึ่งติดตั้งอยู่บนหอสูง ขาตั้งหรือบนล้อเลื่อน แบ่งเครน ( ปั้นจั่น ) ออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ดังนี้
ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ ( Mobile Cranes )
เครนสำหรับยกของหนัก( Heavy Lift Cranes )
รถบรรทุกติดเครน( Lorry Cranes ) ( Truck Loader Cranes ) ( Boom Truck Cranes ) รถเฮียบ Hiab Crane
ปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ ( Stationary Cranes )
เครนหอสูงหรือปั้นจั่นหอสูง( Tower Cranes )
เครนขาสูงแบบข้างเดียว ( Semi Gantry Cranes )
Overhead Crane รางวิ่งชุดล้อเลื่อน Rope Guide ชุดล้อเลื่อน-Trolley 1 ชุดกว้าน-Drum สายไฟชุดตามขวาง- Fesstooned Type Cross onductors มอเตอร์ รางวิ่ง-Runway 3 6 5 โครงสร้าง-Girder 2 มอเตอร์-Motor 4 7 เมนสวิทย์-Main Switch สลิง ชุดคอนโทรล-Control ชุดล้อวิ่ง-End Truck ชุดตะขอยก ตัวกันสลิงหลุดออก-Safety Latch ลูกยางกันกระแทก ตะขอยก 2 6 รางวิ่ง-Runway มอเตอร์-Motor
การตรวจเช็คเบื้องต้น ( Pre-Operation Checks ) ผู้ที่ใช้เครนจะต้องมีความเข้าใจในการตรวจเช็คเครนเบื้องต้น การตรวจเช็คควรทำตามคู่มือหรือคำแนะนำ จากบริษัทผู้ผลิต และรวมถึงการตรวจเช็คดังรายการต่อไปนี้
ตะขอยก ( HOOK ) 15% 10 % 10
โซ่ ( Chain ) สึกไม่เกิน 10 % ยืดไม่เกิน 3-4 %
การตรวจสอบเมื่อใช้งาน ( Operation Checks ) • 1. เช็คไฟที่เมนสวิทย์ • 2. เช็คการทำงานของปุ่มควบคุมทั้งหมด • 3. เช็คการเตือนของอุปกรณ์ความปลอดภัยต่างๆ • 4. เช็คการทำงานของสวิทย์ตัวตัด ( Limit Switch ) • 5. เช็คการทำงานของเบรคชุดยก ( Brake Hoist )
การวางแผนการยก ( Planning The Lift )
1.รู้น้ำหนัก,ขนาด และลักษณะพิเศษอื่นๆของของที่จะยก* น้ำหนักของของที่จะยกต้องอยู่ภายใต้ ความสามารถ ในการยกของเครนอย่างปลอดภัย* ขนาดของของที่จะยก* ลักษณะพิเศษของของที่จะยก- ของที่จะยกคืออะไร - ปลอดภัยหรือไม่ - บรรจุด้วยอะไร - หีบห่อดีหรือไม่ - เป็นสารเคมีที่มีอันตรายหรือไม่ - จุดศูนย์ถ่วงอยู่ที่ไหน- สามารถเคลื่อนไหวได้หรือไม่- มีอะไรเป็นพิเศษหรือไม่ในการยก
การหาน้ำหนักของสิ่งของ ( โดยประมาณ ) • การประมาณน้ำหนัก • ปริมาตร = กว้าง x ยาว x สูง • ปริมาตร =1x 1 x 1 ลูกบาศก์เมตร • ดังนั้นน้ำหนักของสิ่งของ = 1xน้ำหนักต่อลูกบาศก์เมตร
2. การใช้สลิงหรือวิธีการเกี่ยวของยกอย่างถูกต้อง * พิจารณาการใช้สลิงให้ถูกต้อง * ต้องมีการตรวจเช็คสลิงก่อน
* ต้องพิจารณามุมของสลิงที่ยก
* ต้องใช้วิธีเกี่ยวของที่จะยกให้ถูกต้อง
3. รายละเอียดอื่นๆ* พื้นที่ทำงานมีสิ่งกีดขวางหรือไม่* ตำแหน่งของของที่จะยก ทางการเคลื่อนที่ และตำแหน่งของที่จะวาง * ป้ายสัญญาณเตือนต่างๆ* อื่นๆ
กฎการยกอย่างปลอดภัย( Rule of Regulations ) • เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุให้น้อยที่สุด ขณะกำลังใช้เครน ต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามกฎการใช้เครนทุกๆเวลา
1. ต้องแน่ใจว่าน้ำหนักของของที่จะยก รวมอุปกรณ์การช่วยยก ไม่เกินน้ำหนักที่เครนสามารถยกได้อย่างปลอดภัย
2. ใช้หูที่ออกแบบมา ใช้ยกเสมอ
3. ทดลองใช้งานชุดควบคุมทั้งหมด ให้แน่ใจว่าใช้งานได้ดีทั้งหมด อย่าใช้งานเมื่อมีจุดเสียหายหรือใช้ไม่ได้ของชุดกว้านยก 4. ทดสอบสวิทย์ตัด(Limit Switch ) โดยการยกของขึ้นช้าๆ จนกระทั่งสัมผัสกับสวิทย์ถ้าตะขอยกไม่หยุดเคลื่อนที่ให้หยุดการยกและรายงานส่วนเสียหายแก่ผู้ควบคุม
5. ตรวจสอบตะขอยก , โซ่ และสลิง ให้แน่ใจว่าไม่หย่อนหรือหลวมในชุดกว้านหรือชุดตะขอยก 6. อย่าใช่ชุดกว้านยกของ ขณะที่สลิงหรือโซ่บิด,คดงอหรือชำรุดเสียหาย7. ก่อนการยกให้แน่ใจว่าชุดรอกยก,สลิงและอุปกรณ์อื่นๆ ได้รับการตรวจสอบแล้วว่าใช้ได้ บูม
ตำแหน่งของชุดยก หรือของที่จะยกให้อยู่ในแนวดิ่งอย่าให้อยู่ทางด้านข้างตำแหน่งของชุดยก หรือของที่จะยกให้อยู่ในแนวดิ่งอย่าให้อยู่ทางด้านข้าง
9.ให้แน่ใจว่าสลิง หรืออุปกรณ์อื่นๆ ใส่ในตะขอยกที่มีที่กันสลิงตก ( Safety Latch ) เรียบร้อย
10. ถ้าจำเป็นให้ใช้เชือกในการพยุงของที่ยก10. ถ้าจำเป็นให้ใช้เชือกในการพยุงของที่ยก
11.ให้แน่ใจว่าการยกของปราศจากสิ่งที่กีดขวางต่างๆ12.ให้แน่ใจว่าการผูกรัดของที่จะยกมั่นคงดีแล้ว 11.ให้แน่ใจว่าการยกของปราศจากสิ่งที่กีดขวางต่างๆ12.ให้แน่ใจว่าการผูกรัดของที่จะยกมั่นคงดีแล้ว
13.ให้แน่ใจว่าไม่มีบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องอยู่บริเวณที่ทำงาน14.ผู้ใช้เครนจะต้องติดต่อการให้สัญญาณจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตามผู้ใช้เครนสามารถตัดสินใจหยุดการทำงานได้ โดยไม่ต้องรอการให้สัญญาณ แม้จะยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น
15. ยกของขึ้นมาเล็กน้อย เพื่อเช็คดูว่าของที่ยก อยู่ในภาวะสมดุลย์หรือไม่ เพื่อป้องกันของเสียหาย
16.หยุดการยกของหรือตะขอยก ให้สูงเพียงพอที่จะเคลียร์ของที่อยู่ใต้ตะขอยก17.อย่ายกของอยู่เหนือคน
18.ไม่อนุญาตให้บุคคลขึ้นไป อยู่บนตะขอยกหรือของที่ ยก