1 / 36

เงินและสถาบันการเงิน

เงินและสถาบันการเงิน. Money and Financial Institutions. ความหมายของเงิน

yamka
Download Presentation

เงินและสถาบันการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เงินและสถาบันการเงิน Money and Financial Institutions

  2. ความหมายของเงิน เงิน หมายถึง “สิ่งที่ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และเป็นที่ยอมรับในการชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย เงินประกอบด้วย เหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแสรายวัน ซึ่งสามารถสั่งจ่ายด้วยเช็ค และบัตรเครดิต เป็นบัตรที่สามารถนำไปซื้อสินค้าและบริการได้สะดวก”

  3. ประวัติความเป็นมาของเงิน • เงินได้พัฒนามาหลายรูปแบบ • ตั้งแต่เงินเป็นสินค้า (commodity money ) • เงินที่เป็นเหรียญ (Coins) • ธนบัตร (papermoney) • เงินฝากกระแสรายวัน (demand deposit) • ะบัตรเครดิต (credit card)

  4. อาณาจักรสุโขทัย • เรียกว่า เงินพดด้วง(bullet coins) • หมาย เป็นเงินกระดาษทำด้วยกระดาษปอนด์สีขาว • บัตรธนาคาร มีลักษณะเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินของธนาคารพาณิชย์ซึ่งนำออกใช้เมื่อได้รับอนุญาตจากรัฐบาลแล้ว • ธนบัตร มีบทบาทในระบบการเงินของไทยตามพระราชบัญญัติสยาม

  5. ชนิดของเงิน • ชนิดของเงินที่เริ่มมีใช้ในโลก แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ • เงินที่เป็นสินค้า(commoditymoney) • เหรียญ(coins) เป็นวิวัฒนาการจากการใช้โลหะเป็นเงิน • ธนบัตร (paper money) เป็นรูปแบบของเงินที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน • เงินฝากกระแสรายวัน (demand deposit) เป็นบัญชีเงินฝากที่สามารถเขียน “เช็ค” สั่งจ่ายได้ • บัตรเครดิต (credit card) ได้กำเนิดเมื่อ พ.ศ. 2463

  6. หน้าที่ของเงิน • เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน(mediumof exchang) • เป็นเครื่องวัดมูลค่า(standardof value) • เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ภายหน้า(standard of deferred payments) • เป็นเครื่องรักษามูลค่า(store of value)

  7. แหล่งที่มาของเงินทุน (Sources of Funds) • แหล่งเงินทุนภายใน(Internal Sources) • แหล่งเงินทุนภายนอก(ExternalSources)

  8. ความหมายของสถาบันการเงินความหมายของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินอาจมีความหมายได้หลากหลายดังต่อไปนี้ สถาบันการเงิน (Financial Institutions) หมายถึง “องค์การทางการเงินที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการอำนวยความสะดวก (Financial Intermediaries) ในเรื่องการเคลื่อนไหวของเงินสถาบันการเงินเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ในการรับฝากเงิน การให้กู้ยืม การซื้อขายหลักทรัพย์ และการรวบรวมเงินออมจากผู้ออมไปยังผู้ลงทุน”

  9. หน้าที่ของสถาบันการเงิน • (The Functions of Financial Institutions) • เป็นแหล่งกลางทางการเงินที่ผู้กู้และผู้ให้กู้สามารถสนองความต้องการต่อกันได้โดยไม่ต้องรู้จักกันมาก่อน • ให้ความปลอดภัยได้ดีกว่าแก่เงินของผู้ออม • จัดให้มีเงินกู้ลักษณะต่างๆ ตามที่ผู้ให้กู้และผู้กู้ต้องการ • เคลื่อนย้ายเงินทุนไปยังที่ต่างๆ • จัดหาสภาพคล่องให้แก่เครื่องมือเครดิต

  10. ประเภทของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินสามารถจำแนกตามขอบเขตการดำเนินงานออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ คือ 1. สถาบันการเงินระหว่างประเทศ 2. สถาบันการเงินในประเทศ

  11. ทั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ และสถาบันการเงินในประเทศ ยังแบ่งเป็น - สถาบันการเงินที่เป็นธนาคาร (Bank Financial Institutions) - สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคาร (Non-Bank Financial Institutions)

  12. สถาบันการเงินระหว่างประเทศสถาบันการเงินระหว่างประเทศ • ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า(Export – Import Bank : Exim Bank) • ธนาคารโลกหรือธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนา (World Bank or International Bank for Reconstruction and Development : IBRD)

  13. (3) ธนาคารพัฒนาเอเชีย(Asian Development Bank) • ธนาคารเพื่อการชำระเงินระหว่างประเทศ (Bank for International Settlement: BIS)

  14. สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่มิใช่ธนาคาร • กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) • สถาบันค้ำประกันการกู้ยืมเงินต่างประเทศ(The Foreign Credit Insurance Association: FCIA) • บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ (International Finance Corporation: IFC)

  15. สถาบันการเงินในประเทศสถาบันการเงินในประเทศ • สถาบันการเงินที่เป็นธนาคาร • ธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank) • ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank) • ธนาคารอาคารสงเคราะห์(GovernmentHousingBank) • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(Bank for Agriculture and AgriculturalCooperatives–BAAC)

  16. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า(Export-Import Bank of Thailand : Exim Bank) • ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย(Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand : SME Bank) • ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand)

  17. ธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank) หน้าที่สำคัญของธนาคารพาณิชย์ ธนาคารพาณิชย์ ประกอบธุรกิจใหญ่ๆ 3 ประเภท คือ 1. การรับฝากเงิน 2. การให้กู้ยืมและการลงทุน 3. การซื้อขายเงินตราต่างประเทศ

  18. ประชาชนนิยมนำเงินไปฝากธนาคาร มากกว่าสถาบันการเงินอื่นๆ มีสาเหตุเนื่องมาจาก (ก) ธนาคารให้ความสะดวกแก่ผู้ฝากเงินในการสั่งจ่ายเงินโดยใช้เช็คสั่งจ่ายเงินได้ (ข) ความปลอดภัย จากการที่เงินจะสูญหายมีมาก เพราะธนาคารมีที่เก็บเงินที่มั่นคงและแข็งแรงกว่าที่บ้าน (ค) ผลประโยชน์ที่เกิดจากการฝากเงิน คือผู้ฝากจะได้รับดอกเบี้ย (ง) ผู้ฝากเงินมีสิทธิกู้เงินหรือรับเครดิตจากธนาคาร โดยธนาคารจะใช้เงินฝากนั้นเป็นหลักประกัน

  19. ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank) • เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง • วัตถุประสงค์ของธนาคารออมสิน จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ของประชาชน เป็นแหล่งเงินกู้ภายในประเทศของรัฐบาล เพื่อนำเงินออมไปใช้ในการสร้างสาธารณูปโภคและการพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ

  20. ธนาคารอาคารสงเคราะห์(GovernmentHousingBank) • เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง • วัตถุประสงค์ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ เพื่อทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้แก่ผู้มีรายได้น้อย และปานกลางได้มีที่อยู่อาศัยของตนเอง

  21. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(Bank for Agriculture and AgriculturalCooperatives–BAAC) • เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง • วัตถุประสงค์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ให้เงินกู้แก่เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร

  22. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า(Export-Import Bank of Thailand : Exim Bank) • เป็นสถาบันการเงินชำนาญพิเศษ และเป็นสถาบันการเงินเฉพาะด้านประเภทหนึ่ง • รัฐจัดตั้งขึ้นเพื่อให้การสนับสนุนด้านการเงิน การค้ำประกันและการรับประกันแก่ธุรกิจการส่งออก

  23. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย(Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand : SME Bank) • สนับสนุนการเงินแก่ SMEs ในรูปการเข้าร่วมลงทุน (Equity Financing) • ให้คำแนะนำทางด้านธุรกิจและการจัดการแก่ SMEs • ให้ความช่วยเหลือแก่ SMEs ที่ประสบปัญหาทางการเงิน

  24. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand) • เป็นธนาคารเฉพาะกิจที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย • ให้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามอย่างครบวงจรแก่ผู้ลงทุน ผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป • สินเชื่อของธนาคารอิสลามฯ ไม่มีการคิดดอกเบี้ย แต่จะเป็นการบวกกำไร (Mark up) เข้าไปแทน เป็นลักษณะการซื้อขาย

  25. สถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคารสถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคาร • บริษัทเงินทุน (Finance Company) • บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ (Credit Foncier Company) • บริษัทประกันชีวิต(Life Insurance Company) • สหกรณ์ออมทรัพย์ (Saving Cooperatives) • สหกรณ์การเกษตร (Agricultural Cooperatives)

  26. (7) กองทุนรวม (Mutual Fund) (8)ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย(Stock Exchange of Thailand) (9) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund)

  27. บริษัทเงินทุน (Finance Company) • กิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์(Commercial Finance Business) • กิจการเงินทุนเพื่อการพัฒนา(Development Finance Business) • กิจการเงินทุนเพื่อการจำหน่ายและการบริโภค(Sales and Consumer Finance Business)

  28. กิจการเงินทุนเพื่อการเคหะ(Housing Finance Business) • กิจการเงินทุนอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

  29. บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ (Credit Foncier Company) • จัดหาเงินทุนหรือระดมเงินออมโดยการกู้ยืมจากประชาชน • ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ตลอดจนคำแนะนำปรึกษา • ให้ความช่วยเหลือทางการเงินระยะยาวแก่ผู้ประสงค์จะซื้อที่ดินและบ้านเพื่ออยู่อาศัย • ให้คำแนะนำปรึกษาแก่โครงการเกี่ยวกับการพัฒนาเทคนิคการสร้างบ้าน

  30. บริษัทประกันชีวิต(Life Insurance Company) • มีหน้าที่เก็บเบี้ยประกัน และรับผิดชอบการจ่ายเงินผลประโยชน์ตามที่กรมธรรม์ระบุไว้ • การให้ความคุ้มครองต่อครอบครัว • ประโยชน์ทางด้านการออมทรัพย์ • ประโยชน์ในด้านการลงทุน • ประโยชน์ในด้านความมั่นคงของรายได้

  31. สหกรณ์ออมทรัพย์ (Saving Cooperatives) 1. ส่งเสริมให้สมาชิกมีการออมทรัพย์ 2. รับฝากเงินจากสมาชิกทั้งประเภทออมทรัพย์และปกติ 3. จัดให้มีเงินกู้สำหรับสมาชิกตามความจำเป็น โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราที่ต่ำ 4. จัดบริการอย่างอื่นสำหรับสมาชิก

  32. สหกรณ์การเกษตร (Agricultural Cooperatives) 1. จัดหาทุนให้สมาชิกกู้ยืม โดยดอกเบี้ยในอัตราต่ำ 2. ส่งเสริมให้สมาชิกรู้จักการออมทรัพย์ 3. ช่วยเหลือสมาชิกในด้านการจัดหาวัสดุและอุปกรณ์การเกษตร 4. ช่วยเหลือสมาชิกในด้านการจำหน่ายผลิตผลของสมาชิกให้ได้ราคาดี ไม่ถูก 5. ส่งเสริมและเผยแพร่วิชาการเกษตรแผนใหม่แก่สมาชิก

  33. โรงรับจำนำ (Pawn Shop)

  34. กองทุนรวม (Mutual Fund) ประเภทของกองทุนรวม กองทุนรวมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. กองทุนแบบปิด (Closed-end Fund) 2. กองทุนแบบเปิด (Open-end Fund)

  35. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Stock Exchange of Thailand) ตลาดหลักทรัพย์แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 1. ตลาดแรกหรือตลาดหลักทรัพย์ออกใหม่ (Primary orNewIssued Market) 2. ตลาดรองหรือตลาดค้าหลักทรัพย์ (Secondary or Trading Market)

  36. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund) • เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างเสียชีวิต ลาออกจากกองทุนหรือลาออกจากงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บางครั้งอาจเรียกว่า กองทุนเงินสะสม (Provident Fund)

More Related