400 likes | 577 Views
หน่วยที่ 4. ภาพ 1 ห้องเรียน ภาพ 2 งานหนัก ภาระมากมายของครู ภาพวีดีโอ ( มศว. ) หรือ ภาพนิ่ง ที่ใกล้เคียงกับการใช้ Tablet ในโรงเรียนนำร่อง. “ นักเรียนจะเป็นอย่างไร ถ้าครูมีงานหนัก ภาระเยอะต้องสอนเรื่องเดิม ซ้ำไปซ้ำมา จนเบื่อ” (ภาพครูมีงานหนัก).
E N D
ภาพ 1 ห้องเรียน • ภาพ 2 งานหนัก ภาระมากมายของครู • ภาพวีดีโอ (มศว.) หรือ ภาพนิ่ง ที่ใกล้เคียงกับการใช้ Tablet ในโรงเรียนนำร่อง
“นักเรียนจะเป็นอย่างไร ถ้าครูมีงานหนัก ภาระเยอะต้องสอนเรื่องเดิม ซ้ำไปซ้ำมา จนเบื่อ” (ภาพครูมีงานหนัก)
“อนาคตการศึกษาของเด็กไทยจะเป็นอย่างไรถ้าเรานำสื่อเทคโนโลยีให้เข้าถึงตัวเด็กได้ทุกคน”
ถ้าจะนำแท็บเล็ต ไปใช้ในชั้นเรียน ควรมีการเตรียมการอย่างไร (ภาพ สภาพห้องเรียน)
“ขั้นตอนแรกที่ครูจะนำ แท็บเล็ต ไปใช้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ครูควรเริ่ม ที่ใดก่อน”
ข้อตกลงร่วมกัน “หน่วยที่กำลังเรียนรู้นี้ เน้นที่แผนการสอน แต่จะไม่เป็นการสอนเขียนแผน และไม่ยึดติดอยู่กับรูปแบบของแผนการสอนฉบับใดฉบับหนึ่ง หรือแผนฉบับสมบูรณ์ที่ใช้ทำวิทยฐานะ แต่จะตัดตอนเฉพาะส่วนที่จะปรับแก้ เพื่อให้การใช้แท็บเล็ต ลงไปอยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งของแผนได้เท่านั้น”
สาระสำคัญ แผนการจัดการเรียนรู้ ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญ ที่จะนำทางครูผู้สอนไปสู่เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ ที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉะนั้น เมื่อครูนำแท็บเล็ต เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูจึงควรปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับการนำแท็บเล็ตมาใช้
จุดประสงค์ • สามารถวิเคราะห์สื่อ/Apps เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม • เลือกวิธีการใช้แท็บเล็ตในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม • วางแผนพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ประยุกต์ ใช้ แท็บเล็ตได้
เนื้อหา 1. การเตรียมความพร้อมเพื่อใช้แท็บเล็ต ในห้องเรียน 2. การวิเคราะห์สื่อ/Apps เพื่อนำมาใช้ ในการเรียนการสอน 3. การวางแผนในการจัดการเรียนรู้ การใช้แท็บเล็ต 4. การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ประยุกต์ใช้แท็บเล็ต
“หากจะไปจัดอบรมให้กับครูในเรื่องการเขียนแผนการสอนเพื่อแท็บเล็ตไปใช้ ควรมีข้อแนะนำใดเพิ่มเติม”
การเตรียมความพร้อม 1.การจัดสภาพแวดล้อม/ห้องเรียน ที่เหมาะสม • มีการเตรียมปลั๊กไฟฟ้า และ หูฟัง • การบริหารจัดการชั้นเรียน เช่น การนำ Apps ที่หามาใหม่ไปลงในเครื่องนักเรียน ควรวางแผนล่วงหน้า ว่าจะนำ Apps ไปลงในเครื่องนักเรียนได้อย่างไร จึงจะสะดวกและรวดเร็ว
การเตรียมความพร้อม • การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ • ควรมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจง โดยปรับบางกิจกรรรมให้สอดคล้องกับลักษณะ แท็บเล็ตในชั้นเรียน
ควรเลือกใช้ Apps ที่เหมาะสมกับบทเรียน หรือเชื่อมโยงไปยัง Apps ของ สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน • แผนการจัดการเรียนรู้ ไม่จำเป็นต้องใช้ แท็บเล็ตทุกชั่วโมง ทั้งชั่วโมง หรือ ทุกวิชา
ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องใช้แท็บเล็ตเพียงอย่างเดียว ควรใช้สื่ออื่น ๆที่หลากหลาย เช่นใบงาน แบบฝึก รูปภาพ เป็นต้น • แผนการจัดการเรียนรู้ที่จะเขียนควรเน้นกระบวนการคิด
2. วิเคราะห์สื่อและ Apps ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์สื่อ/Apps เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม 2. เลือกวิธีการใช้แท็บเล็ตในการจัดการเรียนการสอน ได้อย่างเหมาะสม เนื้อหา วิเคราะห์ สื่อ/Apps เพื่อการนำมาใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับแท็บเล็ตรายละเอียดในคู่มืออบรม หน้า 191-195
2. วิเคราะห์ สื่อ/Apps เพื่อการนำมาใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับแท็บเล็ต • กิจกรรม ให้ผู้เข้ารับการอบรม วิเคราะห์ สื่อ/Apps ที่บันทึกอยู่ในแท็บเล็ต3 เรื่อง แล้วบันทึกลงในแบบวิเคราะห์สื่อ/Apps ตามที่กำหนดหน้า 193 • กิจกรรมที่ 1 การใช้แท็บเล็ต ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนหน้า 193 • กิจกรรมที่ 2 การใช้เท็บเล็ต ขั้น กิจกรรมระหว่างเรียนหน้า 193
กิจกรรม ให้ผู้เข้ารับการอบรม วิเคราะห์ สื่อ/Apps ที่บันทึกอยู่ในแท็บเล็ต3 เรื่อง แล้วบันทึกลงในแบบวิเคราะห์สื่อ/Apps ตามที่กำหนด • กิจกรรมที่ 3 การใช้แท็บเล็ต ขั้น สรุปหน้า 193
กิจกรรม • ให้เลือก 3 เรื่อง ทำในหนังสือในภาพรวม ใช้เวลา 20 นาทีหน้า 193
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ แท็บเล็ต • วิเคราะห์สาระ มาตรฐานและขอบข่ายการจัดการเรียนรู้ • วางแผนจัดการเรียนรู้ • ผู้เข้ารับการอบรมศึกษาตารางมาตรฐาน ในคู่มือ หน้า 196-199 • ตารางวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง หน้า 200-201
กิจกรรม วางแผนการจัดการเรียนรู้หน้า 201
วิเคราะห์ สื่อ/Apps เพื่อการนำมาใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับแท็บเล็ต • กิจกรรม ให้ผู้เข้ารับการอบรม วิเคราะห์ สื่อ/Apps ที่บันทึกอยู่ในแท็บเล็ต3 เรื่อง แล้วบันทึกลงในแบบวิเคราะห์สื่อ/Apps ตามที่กำหนด • กิจกรรมที่ 3 การใช้คอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) ขั้น สรุปหน้า 193
กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้
ด้านความรู้ ลักษณะสำคัญและความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตรอบตัวเราและสิ่งไม่มีชีวิตรอบตัวเรา
ด้านทักษะกระบวนการ • การสังเกต • การเปรียบเทียบ • การจำแนก • การทดลอง • กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ • การใช้แท็บเล็ต และ Apps ในการเรียนรู้
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ • มีเมตตาต่อสิ่งมีชีวิต • มีความกระตือรือร้น • มีความรับผิดชอบ • ร่วมแสดงความคิดเห็น • ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
ภาระงานระหว่างเรียน • ฝึกกระบวนการเรียนรู้แบบสำรวจ สังเกต ทดลอง จากกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ จากใบงาน 5 ชิ้น และจากสื่อในแท็บเล็ต หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งแวดล้อมรอบตัว ( 4 เรื่อง) • App : Picsart
ผลงานการประเมินตนเอง • โปสเตอร์สิ่งมีชีวิต • ภาพถ่ายสิ่งมีชีวิต กับสิ่งไม่มีชีวิต • ใบงาน
ผลงานการเรียนรู้รวบยอดผลงานการเรียนรู้รวบยอด • ฝึกกระบวนการคิดจากกิจกรรมพัฒนาการคิด จากใบงาน 3 ชิ้น และจากแท็บเล็ต
กิจกรรมที่ 4 การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ประยุกต์ใช้แท็บเล็ต • มาตรฐานการเรียนรู้ ถ้าเป็นแบบบูรณาการหลายสาระก็ต้องระบุมาตรฐานให้ครบทุกสาระ • ตัวชี้วัด พิจารณาจากตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่นำมาใช้ • จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (วิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้ที่คาดหวัง) • สาระสำคัญ (ความคิดรวบยอด)
กิจกรรมที่ 4 การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ประยุกต์ใช้แท็บเล็ต (ต่อ) • สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย ความรู้, ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด, สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน, คุณลักษณะอันพึงประสงค์ • ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) • กิจกรรมการเรียนรู้ • สื่อ แหล่งการเรียนรู้ และวัสดุอุปกรณ์ • การวัดผลและประเมินผล
การเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 ขั้น มีดังนี้ • ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ใช้การเกริ่นนำ และทำแบบทดสอบก่อนเรียน • ขั้นกิจกรรม เป็นการให้ความรู้ ค้นหาความรู้ อภิปรายและรายงานผล • ขั้นสรุป ส่งรายงาน สรุปประเด็นต่างๆ และสรุปความสำคัญของหน่วย • ขั้นนำไปใช้ ทำการทดสอบหลังเรียน หรือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
การเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น มีดังนี้ • ขั้นการวัดผลก่อนเรียน • ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน • ขั้นสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ขั้นสรุป • ขั้นการวัดผลหลังเรียน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลัก CIPPA Model • ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน มีดังนี้ • ขั้นทบทวนความรู้เดิม • ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ • ขั้นการศึกษาทำความเข้าใจความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม หน้า 206
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลัก CIPPA Model • ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน มีดังนี้ • ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม • ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ • ขั้นการแสดงผลงาน • ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ หน้า 206
กิจกรรมที่ 5 บันทึกสิ่งที่ต้องการแก้ไขปรับปรุง • บันทึกสิ่งที่ต้องการแก้ไขปรับปรุงในขั้นตอนต่าง ๆ ด้วยกิจกรรมการใช้แท็บเล็ต ในการเรียนรู้ เท่าที่คิดว่าจะสามารถปฏิบัติได้ในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ 6ศึกษาตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ • ศึกษาตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาต่าง ๆ ท้ายบท แล้วนำมาประยุกต์เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง มีการนำ Apps ที่ได้ติดตั้งไว้ในแท็บเล็ตมาใช้อย่างเหมาะสม (หน้า 210-สุดท้าย)