1 / 21

“เคล็ดลับความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจอิงผลการวิจัย"

“เคล็ดลับความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจอิงผลการวิจัย". สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. Turning Concept into Product. การสร้างสะพานเชื่อมโยงความรู้สู่ภาคอุตสาหกรรม. การเปลี่ยนแนวความคิดและวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีสู่ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ. เห็นปัญหาและความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและผู้บริโภค

xiang
Download Presentation

“เคล็ดลับความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจอิงผลการวิจัย"

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “เคล็ดลับความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจอิงผลการวิจัย"“เคล็ดลับความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจอิงผลการวิจัย" สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

  2. Turning Concept into Product การสร้างสะพานเชื่อมโยงความรู้สู่ภาคอุตสาหกรรม

  3. การเปลี่ยนแนวความคิดและวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีสู่ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จการเปลี่ยนแนวความคิดและวิสัยทัศน์ทางเทคโนโลยีสู่ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ • เห็นปัญหาและความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและผู้บริโภค • คัดเลือกเทคโนโลยีที่สามารถตอบสนองความต้องการได้เพื่อทำการศึกษาคุณสมบัติและประสิทธิภาพ • พัฒนาความเสถียรของเทคโนโลยีเพื่อการผลิตระดับอุตสาหกรรม • สร้างผลิตภัณฑ์ที่สามารถแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของตลาด • สร้างแบรนด์ (Brand) และทำการตลาดอย่างชาญฉลาดเพื่อผลักดันผลิตภัณฑ์ให้ติดตลาด ที่มา: การสัมภาษณ์คุณบุญฤทธิ์ มหามนตรี, ประธานกรรมการ บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด, คุณธิติ โตวิวัฒน์, กรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มบริษัทธรรมสรณ์ และคุณธีรวัฒน์ พนานุเวชวัฒน์. Executive Vice President บริษัท ธรรมสรณ์ นาโนโซลูชั่น จำกัด

  4. Spherical Silver Nanoparticles for Commercial Applications Large Scale Synthesis for Commercial Productions of AgNPs Silver Metal (99.99%) ฿20,000/kg ฿20/1g Silver Nitrate (AgNO3 ) ฿4,000/100g ฿40/1g 100 g AgNO3 contains ~ 63 g Silver Metal 4Ag + 6HNO3 4AgNO3 + 3H2O + NO(g) + NO2(g)

  5. Researches for Commercial Applications: A Case Study of PAO Silver Nano Sensor Research Unit (SRU) Faculty of Science, Chulalongkorn University 254 Phyathai Rd., Patumwan, Bangkok 10330 E-mail: sanong.e@chula.ac.th Website: www.sru.research.chula.ac.th Associate Professor Dr. SanongEkgasit

  6. Silver Nanoparticles Technology Mass Scale Production for Commercial and Industrial Applications Our proprietary silver nanotechnology was transferred to industrial sector and employed for mass scale production for industrial uses. Examples of commercial applications of silver nanoparticles in Thailand included antibacterial detergent and germ-free ambulance.

  7. Safety Test on Silver Nanoparticles Lab Animal Test Acute dermal toxicity test-fixed dose procedure Acute eye irritation and corrosion test (OECD/OCDE 434) No toxicological effects (LD50 (Lethal dose), TD50 (Toxic dose) >5,000 mg/kg) No toxicological effects (LD50 (Lethal dose), TD50 (Toxic dose) >5,000 mg/kg) Fig. 1 Ocular appearance of 50 ppm groups; (A) control, (B) 0 hr post-exposure, (C) 12hr post-exposure Fig. 2 Ocular appearance of 5,000 ppm groups; (A) control, (B) 0 hr post-exposure, (C) 12hr post-exposure. Arrow revealed blood vessels hyperemia in conjunctivae. Fig. 1 Skin appearance of 100,000 ppm group at 0 hr postexposure (A) and 24 hr post-exposure after residue removing (B) Fig. 2 Skin biopsy from 100,000 ppm group, Ag-NPs cover on the keratin layer (arrow) H&E, x390. Acute pulmonary toxicity test Acute oral toxicity test Toxicological effects (LD50 (Lethal dose), TD50 (Toxic dose) >2,000 mg/kg) (OECD/OCDE 425) No toxicological effects (LD50 (Lethal dose), TD50 (Toxic dose) >5,000 mg/kg) • Kaewamatawong, T., Banlunara, W.,  Ekgasit,  S., Maneewattanapinyo, P.  2009.  Acute oral toxicity test of colloidal silver nanoparticles.   Proc. 4th ASVP Conf. & Ann Meeting TAVLD, 2009.  p.439. • 2. Kaewamatawong, T., Banlunara, W.,  Ekgasit,  S., Maneewattanapinyo, P.  2009.  Acute dermal toxicity test of colloidal silver nanoparticles.  Proc. 4th ASVP Conf. & Ann Meeting TAVLD, 2009.  p.440. • 3. Kaewamatawong, T., Banlunara, W.,  Ekgasit,  S., Maneewattanapinyo, P.  2009. Acute eye irritation and corrosion test of colloidal silver nanoparticles.  Proc. 4th ASVP Conf. & Ann Meeting TAVLD, 2009.  p.441. • 4. Kaewamatawong, T., Banlunara, W.,  Ekgasit,  S., Maneewattanapinyo, P.  2009. Acute pulmonary toxicity caused by single intratracheal instillation of  colloidal silver nanoparticles in mice.  Proc. 4th ASVP Conf. & Ann Meeting TAVLD, 2009.  p.442. Fig. 1 Multifocal black foci(arrow); 20,000 ppm groups Fig. 2 Lungs from various doses of Ag-NPs, H&E, x 390. A) 200 ppm groups at 1 day post-exposure B) 20,000 ppm groups at 1 day post-exposure C) 20,000 ppm groups at 14 day post-exposure; arrows showed Ag-NPs

  8. การแข่งขันที่สูงและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปส่งผลให้ตลาดผงซักฟอกต้องสร้างนวัตกรรมใหม่ๆการแข่งขันที่สูงและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปส่งผลให้ตลาดผงซักฟอกต้องสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ การแข่งขันที่รุนแรงในท้องตลาด จำนวนครัวเรือนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง วิถีชีวิตและพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภค สร้างนวัตกรรมเพื่อตอบสนองผู้บริโภคและช่วงชิงตลาด ที่มา: จำนวนประชากรและบ้าน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยพ.ศ. 2541 - 2551 ที่มา: Positioning Magazine กรกฎาคม 2553

  9. เปา ซิลเวอร์ นาโน ใช้การวิจัยและพัฒนาเป็นกลยุทธ์ในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคและช่วงชิงความได้เปรียบทางธุรกิจ • ปัญหาที่ผู้บริโภคประสบ • ต้องซักผ้ากลางคืนหลังเลิกงาน • ที่พักอาศัยมีพื้นที่ตากผ้าน้อย ผ้าไม่โดนแดด • ขาดความมั่นใจถ้าเสื้อผ้าเหม็นอับ • ความต้องการทางธุรกิจ • สร้างความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์ • ภาพลักษณ์ความเป็นผู้นำนวัตกรรม • เพิ่มความได้เปรียบและส่วนแบ่งตลาด • การวิจัยและพัฒนา • สาเหตุของผ้าเหม็นอับ • เทคโนโลยีที่แก้ไขปัญหาได้และ ต้นทุนไม่สูงนัก • ความเสถียรของสารสำคัญในผลิตภัณฑ์ • การพัฒนาคุณสมบัติและประสิทธิภาพ • การพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ (Prototype) • การออกแบบกระบวนการผลิต • ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ที่มา: การสัมภาษณ์คุณบุญฤทธิ์ มหามนตรีประธานกรรมการ บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด

  10. บริษัท ธรรมสรณ์ นาโนโซลูชั่นส์ จำกัด ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับซิลเวอร์ นาโน ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในเรื่อง Antibacteria ในภาคอุตสาหกรรมและโรงพยาบาล การวิเคราะห์อุตสาหกรรมซิลเวอร์นาโนในประเทศ จุดแข็งทางธุรกิจของธรรมสรณ์กรุ๊ป Threat ofSubstitutes สารยับยั้งเชื้อแบคทีเรียอื่น เช่นสารกันบูด ซึ่งมีประสิทธิภาพต่ำ • มีประสบการณ์ยาวนานในอุตสาหกรรมการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ • มีความพร้อมด้านการผลิตและห้องทดลองซิลเวอร์นาโนจากการทำธุรกิจถังเก็บน้ำ Silver Nano Titanium • มีทีมงานวิศวกรและความร่วมมือจากนักวิจัยและมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีซิลเวอร์นาโน Rivalry AmongExisting Competitors Bargaining Power of Suppliers Bargaining Power of Buyers มีนักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญด้านซิลเวอร์นาโนในประเทศจำนวนน้อย คู่แข่งส่วนใหญ่อยู่ในต่างประเทศซึ่งให้บริการแบบไม่ครบวงจร ขาดตัวเลือกผู้ให้บริการที่ให้ความช่วยเหลือด้านการออกแบบการผลิต Threat ofNew Entrants ใช้เงินลงทุนสูงในด้านเครื่องจักรและเทคโนโลยี ที่มา: การสัมภาษณ์คุณธิติ โตวิวัฒน์กรรมการผู้จัดการใหญ่กลุ่มบริษัทธรรมสรณ์ และคุณธีรวัฒน์ พนานุเวชวัฒน์ Executive Vice President บริษัท ธรรมสรณ์ นาโนโซลูชั่น จำกัด

  11. การสร้างนวัตกรรมของกลุ่มบริษัท ธรรมสรณ์ จำกัด เน้นการปรับให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า (Tailor-made) ปรับคุณสมบัติตามความต้องการของลูกค้า พรมปลอดเชื้อ พัฒนาโดยทีม R&D ผู้เชี่ยวชาญด้านSilver Nano ถังเก็บน้ำปลอดเชื้อ ออกแบบการผลิตโดยทีมวิศวกรที่มีประสบการณ์ Silver Nanoในรูปแบบต่างๆ สำหรับรองรับการผลิตวัสดุที่หลากหลาย สุขภัณฑ์ปลอดเชื้อ

  12. ผลิตภัณฑ์อิงผลการวิจัยจะสร้างความแตกต่างและความได้เปรียบทางธุรกิจ โดยควรพัฒนาอย่างต่อเนื่องควบคู่กับการทำการตลาด สร้างความแตกต่าง และได้เปรียบทางธุรกิจ ควรพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่องควบคู่กับการทำการตลาด เพื่อรับมือกับคู่แข่งที่เข้ามาใหม่ ที่มา: Product Life Cycle, http://benwaicome.blog.com/2009/01/10/product-life-cycle/

  13. From Purchasing to Partners ความร่วมมือร่วมใจแบบ.. กัดไม่ปล่อย

  14. “ความใจกว้าง” และ “การเปิดใจ” ของทั้งสองฝ่าย เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาผลงานวิจัยที่อยู่ใน “ห้องแลบ” ออกสู่ “ตลาด” และเข้าถึงผู้บริโภคได้อย่างแท้จริง • Business View Points • งานวิจัยจะสามารถนำมาใช้ได้จริงหรือไม่? • ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากผลงานวิจัยจะเป็นอย่างไร? • มีตลาดรองรับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากงานวิจัยหรือไม่? • การลงทุนในผลงานวิจัยจะมีผลตอบแทนอย่างไร? • Technical View Points • ผลงานวิจัยจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์หรือไม่? • ผลงานวิจัยจะถูกนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์และสังคมอย่างไร? • แผนการพัฒนาธุรกิจสำหรับผลงานวิจัยเป็นอย่างไร? • กลไกการทำงานของภาคธุรกิจเป็นอย่างไร?

  15. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของธุรกิจที่อิงผลวิจัย คือ ความร่วมมือร่วมใจระหว่างนักวิจัยและนักธุรกิจ R&D Business สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ตลาดต้องการ แสวงหาเทคโนโลยีที่สามารถสร้างนวัตกรรม ฐานข้อมูล โจทย์วิจัย ปรับแต่งเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองความต้องการของนักธุรกิจ ทดสอบคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเสถียรของเทคโนโลยี ประเด็นการพัฒนา 2 ฝ่ายเปิดใจเข้าหากัน มาตรฐานการผลิต ออกแบบและพัฒนาต้นแบบ (Prototype) สำหรับการผลิต วางแผนการผลิต ต้นแบบ (Prototype)

  16. Steps to Success กระบวนการคิด.. สู่ความสำเร็จทางธุรกิจ

  17. กรณีศึกษา: การวิจัยเรื่องอนุภาคซิลเวอร์นาโนเพื่อตอบโจทย์วิจัยในภาคอุตสาหกรรม รศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน Polymer เริ่มศึกษาด้านอนุภาค นาโนปลายปี 2549 Investigations Stage ต้นทุนวัตถุดิบการวิจัยสูงและขาด Infrastructure วางแผนดัดแปลงวัตถุดิบอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อลดต้นทุนการวิจัย สร้างต้นแบบ (prototype) Development Development Stage คำนึงถึง mass scale production ผลิตปริมาณมากอย่างต่อเนื่อง จดสิทธิบัตร (License) มีการติดต่อและเจรจาต่อรองกับภาคอุตสาหกรรม Commercialization Stage ที่มา: ดัดแปลงจาก The age of Innovation (Janszen 2000) และจากการสัมภาษณ์รศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 

  18. กระบวนการพาณิชยกรรมของเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ เปา ซิลเวอร์ นาโน สูตรซักกลางคืน ไม่ง้อแดด - บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด Growth &Sustainability Imagining Incubating Demonstration Market Entry มองหาเทคโนโลยีที่แก้ไขปัญหาผ้าเหม็นอับของคนเมือง สร้างพันธมิตรในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกัน พัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ระดับ Lab-scale ผลิตเชิงอุตสาหกรรมและทำการตลาดที่ตรงใจกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาต่อเนื่องโดยเน้นสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม การวิจัย ผลวิจัย ความร่วมมือร่วมใจ ปัญหาด้านความเสถียรประสิทธิภาพ การผลิต การพัฒนาต้นแบบ ผลิตภัณฑ์ สนองความต้องการผู้บริโภค และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค การตลาด ที่มา: Process of Technology Commercialization, Commercialization New Technologies, K.Jolly จากการสัมภาษณ์คุณบุญฤทธิ์ มหามนตรี ประธานกรรมการบริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด

  19. กระบวนการพาณิชยกรรมของเทคโนโลยี กลุ่มบริษัท ธรรมสรณ์ จำกัด Growth &Sustainability Imagining Incubating Demonstration Market Entry ต้องการสร้างองค์กรและผลิตภัณฑ์ที่ขับเคลื่อนโดย R&D คัดสรรเทคโนโลยีที่นักวิจัยไทย มีศักยภาพ นักวิจัยและนักธุรกิจ พัฒนาต้นแบบและแก้ปัญหาร่วมกัน ปรับผลิตภัณฑ์และบริการให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย สร้างแบรนด์และความน่าเชื่อถือเพื่อเติบโตอย่างยั่งยืน การวิจัย นำเทคโนโลยีมาพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่อง (Continuous Product Development) ผลวิจัย ความร่วมมือร่วมใจ การพัฒนาต้นแบบ ผลิตภัณฑ์ สนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรม การตลาด ที่มา: การสัมภาษณ์คุณ ธิติ โตวิวัฒน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มบริษัทธรรมสรณ์

  20. ข้อสรุปที่ได้จากงานสัมมนา • CEO ที่มีพื้นฐานการศึกษาจากวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมมีแนวโน้มที่จะสร้างนวัตกรรมในตัวสินค้า และเข้าใจในการเลือกหยิบ “งานวิจัย” มาใช้ให้เหมาะสมกับภาวะตลาด และ ใจกล้า ที่จะลองของใหม่ • ดังนั้น นักวิจัย ต้องมีความเข้าใจใน ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทางฝั่งธุรกิจ • “เข้าใจกัน ไว้ใจกัน” ช่วยสร้างเป้าหมายร่วมกันช่วยลดการกำหนดกติกาการทำงาน แต่ความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่ได้สร้างได้ภายในชั่วคืน • การเปลี่ยนวัฒนธรรมจาก “ผู้ซื้อ” เป็น “ผู้สร้าง” • Innovation Index : วิจัยแล้ว ดีกว่า ถูกกว่า และออกสู่ตลาดได้เร็วกว่า • อุปสรรคที่ต้องการความช่วยเหลือจากทางรัฐ: • เครื่องมือวัดที่มีจำนวนจำกัด • ความเป็นเจ้าของในงานวิจัย • สนับสนุน Open Innovation เพื่อเปิดกว้างให้ฝ่ายธุรกิจได้เข้าถึงแหล่งข้อมูล • การเตรียมตัวสำหรับ นักวิจัย ที่ต้องการ • ริเริ่มทำวิจัยในหัวข้อที่ใกล้กับความถนัด เพื่อเปิดโลกทัศน์ • นักวิจัยที่ ใจกว้าง “กัดไม่ปล่อย” และสนุกกับการขบคิดกับโจทย์ใหม่ • การส่งศิษย์เอกของนักวิจัยสู่ “ห้องทดลองของบริษัท” • นักวิจัยที่รับปรับงานตามโจทย์ • ติดกฏระเบียบในการเบิกอุปกรณ์ประกอบการวิจัย • Funding ที่เข้าใจความเสี่ยงของวิจัยเชิงพาณิชย์ • สร้างชื่อเพื่อนักธุรกิจมองเห็น

More Related