1 / 38

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการจัดทำแผนฉบับล่าสุด

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการจัดทำแผนฉบับล่าสุด. วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖. หัวข้อการประชุมวันนี้. ข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงแผน ตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการในปี ๒๕๕๖ แนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณ. แนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุด.

xenos
Download Presentation

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการจัดทำแผนฉบับล่าสุด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการจัดทำแผนฉบับล่าสุดข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการจัดทำแผนฉบับล่าสุด วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

  2. หัวข้อการประชุมวันนี้หัวข้อการประชุมวันนี้ • ข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงแผน • ตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการในปี ๒๕๕๖ • แนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณ

  3. แนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุดแนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุด • การเขียน Baseline/วิเคราะห์ปัญหาสถานการณ์เขียนให้ชัดเจน เขียน Baselineตามตัวชี้วัด และตัวชี้วัดย่อยแล้ว ให้วิเคราะห์ ถ้าจุดไหนเป็นปัญหานำมาสร้างเป็นมาตรการ • เป้าหมายการดำเนินงาน • ช่อง Basic PP คือ กลุ่มเป้าหมายตามตัวชี้วัดของงานบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคระดับพื้นฐาน (Basic PP services) • ช่อง Strategic focus คือ สิ่งที่จะนำมาแก้ปัญหาในงานตามกรอบวิสัยทัศน์อยู่ในรูป 8 แผนงาน + service planไม่ใช่งานประจำ • ช่อง Specific Issue คือ ตามแผนใน Specific Issue คือ โครงการพระราชดำริ ยาเสพติดBorder Health (ของเรามีแต่แรงงานต่างด้าว) • อื่นๆ เป็นเป้าหมายที่ไม่ได้อยู่ในแผน ที่กล่าวข้างต้น เช่น กลุ่ม Area health ที่ดำเนินการอยู่ประจำ ไม่ได้มีปัญหา เพื่อที่จะยกระดับให้เป็น Strategic focus

  4. ๑. แนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุด • ๓. การเขียนกลยุทธ์ ส่วนใหญ่ OK แล้ว • ๔. มาตรการ ต้องเขียนมาจากปัญหาที่พบ พบแล้วจะแก้ไข ปรับปรุง หรือพัฒนาอย่างไร • มาตรการการเขียนให้ง่ายควรดำเนินการดังนี้ แยกกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินการ • กลุ่มที่เป็นปัญหา ที่เรานำเสนอไว้ในการวิเคราะห์สถานการณ์ให้นำปัญหานั้นมาสร้างมาตรการว่าจะดำเนินการอย่างไร ดังนั้น มาตรการที่จะดำเนินการกับกลุ่มนี้ จะต้องเป็นการเยียวยาเพื่อแก้ไขปัญหา ซึ่งจะต้องทำกับใคร (กลุ่มเป้าหมาย-ผู้รับบริการ) โดยใคร (กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ใน settingนั้นๆ) ทำอย่างไร (แนวทาง/วิธีการที่จะทำกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้รับ /ผู้ให้บริการ/ สิ่งแวดล้อมการบริการ เช่น มาตรการพัฒนาผู้ให้บริการใน ANC คุณภาพ, มาตรการปรับปรุงแผนผัง/ระบบบริการให้บริการในห้องคลอดคุณภาพ/ ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของมารดาตั้งครรภ์ • กลุ่มเสี่ยง ควรจะสร้างมาตรการอะไร เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นปัญหาต่อไป • กลุ่มทั่วไป หมายถึง การจัดบริการตามพื้นฐานโดยทั่วไปที่เราดำเนินการอยู่ ไม่ได้เป็นปัญหาแต่ต้องดำเนินการ (ส่วนใหญ่เราจะเขียนมาตรการแบบนี้ ขอให้เปลี่ยนไปเป็น 2 กรณีแรกให้มากที่สุด) • มาตรการสำคัญสำหรับแก้ปัญหาต้องมีไม่มาก แต่ที่เขียนกันส่วนใหญ่คือทั่วไป ดังนั้น ต้องทบทวนว่าที่ทำมานานมากแล้วไม่ได้ผล ให้ตัดไปเลย ถ้าดีทำต่อ

  5. แนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุดแนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุด • ๕. การเขียนกิจกรรมให้เขียนแต่กิจกรรมหลักๆเท่านั้น ที่เป็นรายละเอียดมากเกินไป นำไปเขียนใส่ไว้ในโครงการ • ๖. งบประมาณ ให้ระบุให้ชัดเจน • Non UC ต้องใช้ตามผลผลิต /โครงการ/กิจกรรม ตามที่กำหนดไว้ เนื่องจากเป็นผลผลิตตามแผนยุทธศาสตร์ของ สป.ที่ทำไว้กับสำนักงบประมาณ ไม่สามารถนำไปปรับเกลี่ยไปเบิกจ่ายข้ามผลผลิต/กิจกรรม ดังนั้น ให้ทำบัญชีคุมไว้ให้ละเอียด เบิกจ่ายอย่างช้า ไม่เกิน เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖ • งบ PP สนับสนุนไว้สำหรับการบริหารจัดการ อบรม ประชุม กำกับติดตาม ข้อมูล วิจัย พัฒนาต่างๆ • งบ PPA ใช้สำหรับการแก้ปัญหากับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง ไม่ใช้ในการอบรม/ประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรืออื่นๆที่ไม่ใช่การแก้ปัญหา/ส่งเสริมป้องกัน กับกลุ่มเป้าหมายจริงๆ

  6. แนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุดแนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุด • ๖. งบประมาณ (ต่อ) • งบ PPE จ่ายไปเพื่อบริการส่งเสริมป้องกันโรค ตามชุดสิทธิประโยชน์ดังนั้น ตรงนี้ ให้ระบุบริการที่เป็น PP service โดยจำแนกกลุ่มเป้าหมายในช่อง Basic PP ให้ชัดเจน และระบุจำนวนเงินที่ใช้ในแต่ละกลุ่มวัย/การบริการมาให้ชัดเจนเท่ากับจำนวนเงินที่ได้ไปทั้งหมด และในส่วนนี้ต้องนำมาทำแผนแก้ปัญหาในส่วนของ strategic focus /area health ที่เป็นเรื่องส่งเสริมป้องกัน อีกประมาณ 50 % • งบกองทุนสุขภาพตำบล ให้อำเภอขอจากกองทุนแล้วนำมารวมไว้ในแผนย่อยแต่ละแผนที่มีโครงการอยู่ด้วย • งบอื่นๆให้ระบุ การจัดสรรงบประมาณให้น้ำหนักไปตามสภาพปัญหา โดยเฉพาะที่เป็น Strategic Focus

  7. แนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุดแนวทางการเขียนแผนในแต่ละจุด • การเขียนผลลัพธ์แบ่งเป็น • ผลลัพธ์ของกลุ่มวัย เกิดจากการดำเนินการแก้ไขปัญหาตามมาตรการต่างๆทั้งหมดแล้ว กลุ่มวัยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามที่เราต้องการอย่างไร • ผลลัพธ์ของมาตรการ ว่าเราทำมาตรการนี้แล้วจะเกิดผลอะไรขึ้นต่อใคร อย่างไร การทำแผนสุขภาพ ต้องทำเป็นแผน CUP/คปสอ.เท่านั้น จะมีการตรวจสอบจากผู้ประเมินภายนอกด้วย ให้ระวังด้วย

  8. ตัวชี้วัดที่ต้องดำเนินการในปี ๒๕๕๖ เพื่อการติดตามและประเมินผล ประกอบด้วย • แหล่งข้อมูล/การประเมินผล • คลังข้อมูลสุขภาพ (Data center) • ระบบรายงาน • Health survey ปีละ ๑ ครั้ง • การติดตามนิเทศงาน จากการประชุมผู้บริหารประจำเดือน ,การนิเทศเฉพาะกิจ

  9. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ต้องดำเนินการ ปี 2556

  10. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ต้องดำเนินการ ปี 2556

  11. วิธีการประเมินผล • ตัวตั้ง หรือผลงาน ถ้าเรียกจาก Data Centerได้ให้ใช้จาก Data Center • ตัวหาร หรือกลุ่มประชากรเป้าหมาย ให้ใช้ ประชากรสิทธิ • ทั้งนี้ ขอให้ตรวจสอบข้อมูล 3 แหล่งให้ตรงกันด้วย คือ ทะเบียนราษฎร์ ประชากรสิทธิ และเป้าหมายใน Data center ต้องใกล้เคียงกันจึงจะเป็นข้อมูลที่ดี ใกล้เคียงความเป็นจริง • ถ้าดำเนินการได้เช่นนี้แล้ว ไม่ว่าจะใช้อะไรมาเป็นตัวหาร ก็จะได้ผลไม่ต่างกันมากนัก

  12. งบประมาณ Non UC งบดำเนินตามยุทธศาสตร์เบื้องต้น ๓.๘ ล้านาท งบดำเนินตามยุทธศาสตร์ให้จังหวัดภายใต้เครือข่ายบริการ ๑๓.๑ ล้าน บาท งบดำเนินตามยุทธศาสตร์ให้ สสอ. ๒ ล้านบาท งบดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่เบิกจ่ายแทนกันของกรม๐.๕๕ ล้านบาท งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากส่วนกลางของจังหวัดสุพรรณบุรี

  13. งบประมาณ PP งบ PP Express demand ๕๐.๕๒ ล้านบาท งบ PP Area-based ๑๓.๘๖ ล้านบาท งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ ๔.๒๓ ล้านบาท งบทันตกรรมส่งเสริม๑๒.๙๘ ล้านบาท • - งบ PP Exp Cap ๓๙.๑๐ ล้านบาท • - งบ PP Exp Non Ucจำนวน๑๑.๔๒ ล้านบาท - งบค่า PAP Smear / TSH ๖.๒๖ ล้านบาท - งบ PP Area-based ส่วนที่เหลือ ๗.๖๐ ล้านบาท -งบกองทุนสุขภาพท้องถิ่น ๓๑.๘๗ ล้านบาท • -งบ PP ทันตกรรม CUP ๑๑.๒๑ ล้านบาท • -งบ PP ทันต กรรมจังหวัด ๑.๓๗ ล้านบาท • งบสนับสนุนส่งเสริม ทันตกรรม ๐.๓๙ ล้านบาท งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากส่วนกลางของจังหวัดสุพรรณบุรี

  14. การบริหารจัดการงบประมาณของจังหวัดสุพรรณบุรีการบริหารจัดการงบประมาณของจังหวัดสุพรรณบุรี งบ Non UC งบ PPA งบ PPE ๓๐%สสจ. ๗๐%คปสอ. ๓๐% สสจ. ๗๐% คปสอ. ๑๐๐% คปสอ. ๕๐ % แรกของ งปม.ใช้เกณฑ์ประชากร ๕๐% หลังของ งปม.ใช้ เกณฑ์ จำนวน รพ.สต. ๑๐๐ % ตามเกณฑ์ประชากร กำหนดให้ สสจ./คปสอ. จัดทำแผนสุขภาพระดับจังหวัด/อำเภอ ตามแผนย่อย (๒๕ แผน) สอดคล้องกับงปม.ที่ได้รับ และตามสภาพปัญหา และบริบทของการดำเนินงาน ๑) การจัดบริการตามบริการพื้นฐานที่จำเป็น (Basic Service) ๒) มาตรการที่ดำเนินการอยู่แล้วและยังสามารถใช้ได้เกิดผลดี ๓) การจัดสรรสำหรับมาตรการการแก้ไขปัญหาตาม Strategic Focus

  15. การบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรีการบริหารจัดการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด ๑๐.๘๕ ล้านบาท งบ Non – UC จัดสรรเบื้องต้น๓.๘๕ ล้านบาท งบ Non – UC แจ้งผ่านเขต ๓.๐๕ ล้านบาท งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ ๓.๕๕ ล้านบาท งบสนับสนุนส่งเสริมทันตกรรม ๐.๓๙ ล้านบาท ๑) จัดงบประมาณสำหรับดำเนินการตามแผนงานโครงการส่วนกลาง การตรวจราชการนิเทศงาน ,พัฒนางานวิจัย ,ประชุมวิชาการและสรุปผลงานประจำปี,การจัดทำแผนจังหวัด ,มหกรรมคุณภาพ,พัฒนาระบบ IT และซ่อมบำรุง,ปฐมนิเทศข้าราชการใหม่,ค่าเบี้ยเลี้ยง ,น้ำมันเชื้อเพลิง,วัสดุสำนักงาน ๒) ส่วนที่เหลือจัดสรรให้งาน/กลุ่มงานในสสจ.ตามภารกิจที่รับผิดชอบ โดยให้จัดทำแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ

  16. การจัดทำแผนสุขภาพจังหวัดการจัดทำแผนสุขภาพจังหวัด ยุทธศาสตร์สุขภาพกระทรวง - strategic issue - basic pp service - specific issue สสจ. แผนสุขภาพจังหวัด - ๒๕ แผนย่อย - งาน/กลุ่มงาน จัดทำ action plan สอดคล้องกัน แผนสุขภาพเขต สสอ./รพ. (คปสอ.) แผนสุขภาพอำเภอ - ๒๕ แผนย่อย - งาน/กลุ่ม จัดทำ action plan แผนยุทธศาสตร์จังหวัดสุพรรณบุรี สอดคล้องกัน • แผนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัดสุพรรณบุรี (๒๕๕๔ -๒๕๕๙) • Strategic need • สถานะสุขภาพในพื้นที่ • ทรัพยากรที่ได้รับ รพ.สต. แผนปฏิบัติการรายตำบลอยู่ในแผนของอำเภอ - ๒๕ แผนย่อย - แผนกองทุนสุขภาพตำบล

  17. งบประมาณ • งบ Non Ucเบิกจ่ายตามผลผลิต/โครงการ /กิจกรรม ซึ่งจะมีรหัสงบประมาณกำหนดไว้ (การเงิน พี่ถนอมจะแจ้งให้ทราบ) • งบ PP area based และ PP สนับสนุน จะโอนให้ CUP เมื่อได้รับแผนฉบับสมบูรณ์จากอำเภอ ส่งภายใน 20 กุมภาพันธ์ 2556 • แต่อำเภอต้องส่งแผนที่ปรับปรุงครั้งที่ 2 หลังจากการประชุมนี้ (เน้นที่มาตรการและตัวเงินให้ครบถ้วน ภายในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 บ่าย) เพราะกลุ่มงาน/งาน ต้องส่งไปให้จังหวัดที่เป็น Focal point ในวันศุกร์นี้ • ส่วนกลุ่มงาน/งาน ปรับปรุงแผน พร้อมยอดเงินที่ได้รับจัดสรรส่งภายในวันศุกร์15 ก.พ.นี้ก่อน 16.00 น. และอย่าลืมส่งให้จังหวัด focal pointของตัวเองด้วย • งานพัฒนายุทธศาสตร์ต้องรวบรวมส่งเขตภายในวันจันทร์ 18 ก.พ.นี้นะจ้ะ ขอบคุณมากๆที่ร่วมด้วยช่วยกันอย่างดียิ่งมาตลอด

  18. ข้อเสนอแนะจากผู้ตรวจราชการข้อเสนอแนะจากผู้ตรวจราชการ ๑๓กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

  19. กลุ่มสตรีและทารก • ทารก ANC และ LR / WCC คุณภาพ ต้องแยกจากกัน เพราะเหตุของปัญหาต่างกัน เช่น LR คุณภาพ ต้องลดการตกเลือดหลังคลอด, Birth AsphysXia มาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาอาจจะต้องทำ CPGที่เข้มข้น • การนำเสนอข้อมูล การตกเลือดหลังคลอด, Birth Asphysxia หรือสถานการณ์ที่มีจำนวนน้อยๆ ให้นำเสนอเป็นจำนวน อย่านำเสนอร้อยละอย่างเดียวซึ่งไม่สะท้อนข้อเท็จจริง ให้ดูเป็นราย case, case by case ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร • การพัฒนา/แก้ไขปัญหา แต่ละsetting ต้องดูว่าจุดนี้ปัญหาคืออะไร/จะแก้อย่างไร ในเอกสารนำเสนอ Focal point กลุ่มสตรีและทารก มาตรการ 3 และ 4 คือ มาตรการเดียวกัน

  20. เด็ก ๐-๒ ปี • มาตรการการพัฒนา WCC รพ.สต.กำหนดให้ชัดเจนว่า รพ.สต.จะดำเนินการแค่ไหน เป็นเครือข่ายของโรงพยาบาลด้านไหนบ้าง • WCC คุณภาพ พัฒนาเน้นไปที่ในโรงพยาบาล • WCC ขั้นพื้นฐาน ดำเนินการพัฒนาใน รพ.สต • มาตรการการพัฒนาต้องทำเป็นเครือข่ายอำเภอ ให้อำเภอเป็นพี่เลี้ยง รูปแบบการดำเนินงานต้องเป็นแบบเดียวกันไม่ใช่ต่างคนต่างทำ (ของใครของมัน)

  21. เด็ก ๐-๒ ปี • ANC, WCC คุณภาพ อย่าให้คลุมเครือว่าจะทำอย่างไร ให้พิจารณาร่วมกันว่าเขตจะทำอย่าง เข้ามาช่วยจังหวัดอย่างไร และจังหวัดจะทำอย่างไร • ต้องมี SOP (มาตรฐานการปฏิบัติงานตามเกณฑ์คุณภาพ) ถ้ายังไม่มีให้ศูนย์วิชาการร่วมกับจังหวัดดำเนินการ ทำในสิ่งที่ทำได้ไปก่อน

  22. เด็ก ๐-๒ ปี • WCC คุณภาพเป็นเรื่องของ Setting ให้ระวังกาให้คะแนน ผ่าน/ไม่ผ่าน ที่สำคัญต้องเน้นบริการกลุ่มเป้าหมายให้ชัด • กลุ่มทั่วไป • กลุ่มเสี่ยง • กลุ่มเป็นปัญหา ผอม,อ้วน, ฟันผุ รพ.สต.ดำเนินการจังหวัด/อำเภอ ต้องเข้าไปดูคุณภาพว่าดำเนินการได้จริงไหม หรือดำเนินการได้แค่ไหน จะส่งให้ รพ.ดำเนินการเมื่อไร กลุ่มทั่วไป เสี่ยง ปัญหา การให้น้ำหนักการดำเนินงานต้องไม่เท่ากัน ทุกกลุ่มดูด้วยนะ

  23. เด็ก ๐-๒ ปี • ทันตสุขภาพ อย่าดูอยู่ใน setting ให้ดูที่ผู้รับบริการทั้งหมด • วัคซีน ต้องดู coverage ที่กลุ่มประชากร • ดังนั้น ฐานข้อมูลต้องถูกต้อง ครอบคลุม

  24. กลุ่มปฐมวัย วัยเรียน วัยรุ่น • มาตรการยังเป็นมาตรการทั่วไปอยู่ • การตรวจพัฒนาการที่จะแก้ไขอย่างไร ให้ถูกต้อง/มีคุณภาพ • การวางมาตรการดูจากปัญหา เช่น รูปร่างไม่สมส่วน อ้วน ผอม IQ/EQ ฟัน วัคซีน ผู้ปฏิบัติในพื้นที่จะต้องปฏิบัติอย่างไร ต้องมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน อำเภอใครจะเป็นพี่เลี้ยง ควรมี Flow chart ที่ชัดเจน ว่าใครจะทำอะไร เมื่อมีปัญหาใครจะเป็นผู้ส่ง • มาตรการการแก้ปัญหา ถ้าให้ โรงพยาบาลแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ ดังนั้น ก็ต้องมีมาตรการเข้าไปฝึกอบรม/พัฒนาผู้ให้บริการที่จุดนี้ แต่ถ้าให้ รพ.สต.ดำเนินการ มาตรการก็ระบุไปที่กลุ่มเจ้าหน้าที่ รพ.สต.

  25. โรคเรื้อรัง มะเร็ง สูงอายุ พิการ • มาตรการวิเคราะห์ให้เป็นบรรทัดฐานเดียวกันเช่นเดียวกับกลุ่มวัยอื่น • โรคเรื้อรังต้องให้มี System Manager ในทุกอำเภอ การคัดกรองให้แยกเป็น ๑๕-๓๔ ปี และ ๓๕ ปีขึ้นไป มาตรการใน ๓๕ ปีขึ้นไปต้องเป็นการคัดกรองที่เข้มข้น การคัดกรองตา ไต เท้า จะทำอย่างไรให้ครอบคลุม ต้องกำหนดมาตรการให้ชัดเจน อาจจำเป็นต้องกำหนดมาตรการเรื่องการกระจายทรัพยากรข้ามพื้นที่ ให้ดูว่าจะดำเนินการได้หรือไม่ หรือทำอย่างไร

  26. โรคเรื้อรัง มะเร็ง สูงอายุ พิการ • คลินิก NCD คุณภาพ อยู่ให้รวมไว้ที่จุดเดียวกัน แม้ในกลุ่มผู้สูงอายุก็มี ให้เขียนการบริการไว้ที่จุดเดียวกันในโรคเรื้อรัง • นำ เรื่อง NCD คุณภาพ ในส่วนที่ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ หรือ specialist ไปไว้ใน service plan กรณีใดที่ primary care ดำเนินการไม่ได้ให้นำไปใส่ไว้ที่ service plan กรณีสาขาอื่นๆก็เช่นกัน ต้องมองให้เชื่อมโยงการบริการแต่ละระดับให้ชัดเจน • เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการคัดกรอง/ปรับเปลี่ยน/ชุมชน/หมู่บ้าน ของกลุ่มวัยต่างๆที่ต้องดำเนินก็ให้ระบุไว้ในกลุ่มวัย (primary care ทำได้) ไม่ต้องไปใส่ใน Service plan

  27. โรคเรื้อรัง มะเร็ง สูงอายุ พิการ • แผนงานเรื่อง Health Literacy ให้เน้นเรื่องแก้ปัญหา NCD นำมาบรรจุไว้กับแผนนี้ • อะไรที่ไม่ใช่บุคคล ครอบครัว ทำในภาพกว้างๆ • แผนงานนี้ทำในลักษณะที่เป็น Mass, Public

  28. โรคเรื้อรัง มะเร็ง สูงอายุ พิการ • มะเร็ง ฐานข้อมูล/ทะเบียน ให้ยึดฐานเดียวกัน ใช้ประชากรสิทธิ ต้องแยกสิทธิให้ได้ เพื่อตรวจสอบว่า เราให้บริการได้ครอบคลุมทุกสิทธิหรือไม่ (กลุ่มวัยอื่นต้องดูเช่นกัน) • ความครอบคลุม Pap smear ใครจะเป็นผู้ดำเนินการ ต้องระบุให้ชัดว่าระดับไหนจะทำอะไร

  29. โรคเรื้อรัง มะเร็ง สูงอายุ พิการ • ผู้สูงอายุ การกำหนดมาตรการคลินิกผู้สูงคุณภาพให้อยู่ รพศ. รพท. ในส่วนนี้ Highlight จะอยู่ที่โรงพยาบาล ต้องกำหนดกรอบให้ชัดเจนว่ามีการดำเนินการอย่างไรบ้าง เช่น ข้อเสื่อม จะทำอย่างไร สมองเสื่อมจะทำอย่างไร ตาเสื่อมจะทำอย่างไร มีใครเกี่ยวข้องบ้าง แบ่งระดับกันใครจะทำอะไร ดูแลเรื่องอะไร ถ้ายังไม่มีการดำเนินการก็ให้ไปจัดทำ โดยจังหวัดที่ focal point ไปดำเนินการร่วมกัน ๘ จังหวัด • การเยี่ยมผู้สูงอายุ ๖ โรค โรงพยาบาลจะเป็นหลัก แล้ว รพ.สต.กับ อสม.จะให้ทำอะไร • การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุใน ๖ โรค ต้องระบุได้แต่ละโรคใครจะดำเนินการ เมื่อพบโรค/ปัจจัยเสี่ยงใครจะดำเนินการ อย่างไร

  30. อาหารปลอดภัย • เช่นเดียวกันกับกลุ่มอื่น มาตรการยังไม่ชัดเจน ระบุให้ชัดว่าเรื่องนี้ระดับใดต้องทำ แบ่งบทบาท และส่งต่อการดำเนินกันให้ชัดเจน • ให้มีมาตรการเกี่ยวกับเรื่องน้ำสะอาด ประปา ว่าเราจะเข้าไปช่วยดูอย่างไรให้มีคุณภาพ ไม่ใช่แค่ดูว่าผลการตรวจแล้วผ่านเกณฑ์กี่แห่ง ให้เน้นไปที่คุณภาพ • ตลาดนัดไม่ใช่วางเป้าหมาย ๑ แห่ง ศูนย์ฯต้องเข้ามาวางเป้าร่วมกับจังหวัด เน้นการวางเป้าหมายให้ชัดเจน

  31. ควบคุมโรคติดต่อ • อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งให้ดำเนินการใน ๔ เรื่องหลักอยู่ในบัญชีรายการที่ต้องดำเนินการ เนื่องจากเป็นเรื่องที่แสดถึงบทบาทของ สธ.โดยตรง คือ • ไข้เลือดออก • TB • อหิวาต์ • HIV/AIDS เน้นไปที่กลุ่มเข้าถึงยาก ปัญหาในกลุ่มวัยรุ่น ให้นำไปในกลุ่ม • ๔ เรื่องนี้การให้น้ำหนักแล้วแต่สภาพพื้นที่ แต่ต้องดำเนินการทั้งหมด ส่วนไข้หวัดใหญ่/มือเท้าปาก ส่วนใหญ่ปัญหาเป็น seasonal ควบคุมได้น้อย อุจจาระร่วง/Food poisoning ปัญหาแม้จะมากแต่แก้ไขไม่ยาก

  32. ควบคุมโรคติดต่อ • แผนงานไข้เลือดออก มาตรการเรื่องการพ่นสารเคมี และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ให้ไปทบทวนเรื่องรัศมี ๑๐๐ เมตร เพราะเดี๋ยวนี้ Mobility-การเคลื่อนย้ายของประชากรไปไหนมาไหนมากกว่านั้น ต้องควบคุมให้มากกว่า ๑๐๐ เมตร และการวินิจฉัยต้องมาจากการสอบสวนจริงๆ • ต้องเพิ่มมาตรการสำคัญคือ การควบคุมกำกับ/control ที่มีประสิทธิภาพ จึงจะช่วยลดการระบาดได้ ควบคุมการขยายโรคเมื่อพบเหตุให้ได้ และต้องควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพอย่าให้พาหะได้แพร่ออกไป

  33. กลุ่มบริการ • Service plan ให้ตรวจสอบกับกลุ่มวัย ตรงไหนที่เป็นของกลุ่มวัยทำ ในservice plan ไม่ต้องนำมาใส่ ให้มองภาพเชื่อมต่อกันในระบบบริการแต่ละระดับ (สุพรรณบุรี ยมราชต้องเป็นแกน service plan ระดับจังหวัด) • ระบบส่งต่อ ๑) ให้ดูการส่งต่อออกนอกเขต สุพรรณเราส่งมากที่สุดการส่งออกนอกเขตมากทำให้เราขาดดุล ๒) การดำเนินงานศูนย์ส่งต่อ ประสานเรื่องคน โดยเฉพาะ specialist ต้องจัดทำข้อเสนอว่าจะดำเนินการกันอย่างไร

  34. กลุ่มบริการ • งาน พบส. ให้นำ LAB, X-RAY อยู่ด้วยกันเป็นชันสูตร • งานคุณภาพที่เกี่ยวข้องทั้งหมดให้ไปอยู่ในงานคุณภาพ – พยาบาล, rehab-ฟื้นฟู, เภสัช, ชันสูตร • ทันตแพทย์ ให้อยู่ใน Service plan • PCA ไม่ต้องตรวจไขว้ข้ามจังหวัด

  35. กลุ่มบริหาร • การเงินการคลัง นำเสนอแค่ดูวิกฤตไม่ได้ แต่ปัญหาไม่ใช่อยู่ที่แห่งที่วิกฤต ให้ดูสถานะ รพ.ที่มีรายได้ต่ำกว่าขั้นต่ำที่ควรจะเป็น จะทำอย่างไรให้การบริหารมีประสิทธิภาพ (ตรงนี้ส่วนกลางคงมีการมาจัดระบบด้วย) • ปัญหาการเงินการคลัง ส่วนใหญ่โรงพยาบาลมีปัญหาทั้งนั้น มากกน้อยต่างกันไป บางครั้งการมีเงินมากถูกกลบเกลื่อนให้มองไม่เห็นประสิทธิภาพของโรงพยาบาลนั้น • ควรจัดทำเกณฑ์เข้าไปดูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้ชัดเจนเรื่องการเงิน ที่ทำได้ชัดเจนคือ เรื่องยา เวชภัณฑ์ LAB การดู CMI การจ่ายOT เพื่อดู่ว่าที่ไหนประสิทธิภาพ

  36. กลุ่มบริหาร • การตรวจสอบภายใน ให้ประเมินความเสี่ยงในจุดที่มีความเสี่ยง • Earmark สถานบริการที่มีปัญหาที่ใช้เงินผิดระเบียบ/ไม่ถูกต้อง ทั้งที่เจตนา และไม่เจตนา

  37. ยาเสพติด สาธารณสุขชายแดน โครงการพระราชดำริ ข้อมูล • ให้ตรวจสอบมาตรการ /งบประมาณ ส่งคืนจังหวัดเจ้าภาพ – ประจวบฯ • โครงการพระราชดำริ – รายละเอียดให้นำไปไว้ในกลุ่มวัย ตรงนี้เขียนมาตรการเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้สำเร็จเท่านั้น • ระบบข้อมูล – ให้ตรวจสอบความครอบคลุมประชากรในกลุ่มวัย จัดทำแยกไว้ให้เห็นชัดเจนว่ากลุ่มใดมีจำนวนเท่าใด จำแนกให้เห็นรายละเอียดของกลุ่มนั้นๆด้วย • EPI ให้แยกประเภท/กลุ่มที่ต้องได้รับออกมาตั้งเป็นเป้าหมายให้ชัดเจน • การนำเสนอสถิติให้ระบุเป็นจำนวน อย่านำเสนอร้อยละอย่างเดียว • การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสถานบริการให้ดำเนินการพัฒนาให้ได้ • ข้อมูลให้เกณฑ์เดียวกันทั้งจังหวัด/เขต ตัวตั้ง/ตัวหาร ให้กำหนดให้ชัดเจน ถ้าไม่ตรงกันให้ระบุแหล่งที่มาของข้อมูลด้วย

  38. ข้อเสนออื่นๆ • กลุ่มวัยที่รับให้ดูว่า • งานมี Element เป็นองค์ประกอบ • ในทางปฏิบัติให้ดูว่าแต่ละมาตรการจะทำอย่างไร ให้เห็นทาง เช่น พัฒนาศักยภาพใคร ใครจะรับผิดชอบในส่วนใด งานที่เป็น setting นั้นๆจะพัฒนาใครใน setting นั้นบ้าง เมื่อไร ให้กำหนดให้ชัดเจน แต่ถ้าคำว่า อบรม จะอยู่ในกิจกรรม • มาตรการที่เขียนมายังกว้าง จับต้องไม่ได้ เขียนให้ชัดเจน จะได้รู้ว่าจะต้องทำอย่างไร ภาพจังหวัดจะทำอะไร อำเภอจะทำอะไรให้ชัดเจน แผนสุขภาพอำเภอ ๑ CUP ๑ แผนสุขภาพเท่านั้น และเน้นไปที่การปฏิบัติมากกว่าจังหวัด นำเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ แต่ treat เช่นเดียวกับ รพ.สต. และกองสุขภาพตำบลมารวมไว้ด้วย • การจัดทำงบประมาณที่จัดสรรให้ไป เวลาส่งแผนกลับมาต้องเท่ากัน/ใกล้เคียงความจริงมากที่สุด

More Related