240 likes | 303 Views
การเข้าตลาดออสเตรเลียของสินค้าเฟอร์นิเจอร์. โดยคุณนันทวี พิทักษ์ธีระธรรม กรรมการบริหารสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทย. ไปหน้าหลัก. การเปิดเสรีการค้าสินค้า.
E N D
การเข้าตลาดออสเตรเลียของสินค้าเฟอร์นิเจอร์การเข้าตลาดออสเตรเลียของสินค้าเฟอร์นิเจอร์ โดยคุณนันทวี พิทักษ์ธีระธรรม กรรมการบริหารสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทย ไปหน้าหลัก
การเปิดเสรีการค้าสินค้าการเปิดเสรีการค้าสินค้า • ออสเตรเลียจะลดภาษีเป็น 0 ทันทีเมื่อความตกลงฯ มีผลบังคับใช้ สำหรับสินค้ากว่า 83% สำหรับสินค้าเฟอร์นิเจอร์เราส่งออกไปมีภาษีเป็นศูนย์เมื่อปี 2006 ดังนั้นเพื่อเป็นการนำผลจากการเจรจา FTA นำมาใช้ประโยชน์ ทางสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทยและกรมส่งเสริมการส่งออก จึงต้องการจัดกิจกรรมเชิงรุกเพื่อเพิ่มยอดขายให้กับสินค้าเฟอร์นิเจอร์ของไทย โดยจัดกิจกรรม ExportRally to Australia เมื่อวันที่ 11-17 กรกฎาคม 2548 โดยนำสมาชิกของสมาคมฯ ไปร่วมกิจกรรมประมาณ 12 บริษัท เพื่อศึกษาตลาดออสเตรเลียอย่างจริงจัง โดยได้ไปสำรวจตลาดที่ เมืองซิดนีย์ และ เมืองเมลเบิร์น
มูลค่าสินค้าเฟอร์นิเจอร์หลังทำ FTA • หลังทำ TFA ไทย-ออสเตรเลีย มูลค่าการส่งออกสินค้าเฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วนของไทยในปี 2006 มีมูลค่า 55.57 ล้านเหรียญสหรัฐ เมื่อเทียบกับปี 2005 ที่มีมูลค่า 33.36 ล้านเหรียญสหรัฐ จะพบว่ามีอัตราการขยายตัวถึงร้อยละ 66.59 เมื่อเทียบกับปี 2005 สำหรับในปี 2007 ตั้งแต่มกราคม-พฤษภาคม เราส่งออกสินค้าเฟอร์นิเจอร์ให้กับออสเตรเลียมีมูลค่า 24.34 ล้านเหรียญสหรัฐ
สรุปภาพรวมตลาด Australia • ตลาดออสเตรเลียมีขนาดเล็ก ธุรกิจส่วนใหญ่รวมตัวกันอยู่ที่ Sydney และ Melbourne • การบริโภคสินค้ากลุ่มเฟอร์นิเจอร์ และ ของตกแต่ง มียอดสูงสุดในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา • ตลาดอสังหาริมทรัพย์มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 3 ปีข้างหน้าตลาดบ้านโตขึ้นโดยเฉลี่ย 4%
สรุปภาพรวมตลาด Australia • สินค้ากลุ่มเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่ง มียอดขายใน Australia ประมาณ 6,000 ล้านเหรียญ Australia ครึ่งหนึ่งเป็นตลาดของผู้บริโภค residential market และอีกครึ่งหนึ่งเป็นตลาดธุรกิจ commercial market เช่นโครงการร้านอาหาร โรงแรม โรงเรียน ตลาดธุรกิจเป็นตลาดที่ขายราคาสูงกว่าตลาดผู้บริโภค
สรุปภาพรวมตลาด Australia • สินค้าที่ทำจากไม้มีสูงถึง 60% สำหรับ กลุ่มเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่ง ซึ่งตลาด Australia นิยมไม้จริงมากกว่าไม้ veneer • ไม้ใน Australia มีราคาสูงมากเมื่อเทียบจากไม้บ้านเรา Jarrah, Tasmanian Oak, Victorian Ash, Gum ทำให้สินค้าไม้จากประเทศไทยมีโอกาสมาก การรับรองด้านป่าไม้และสิ่งแวดล้อม มีบทบาทกับการตัดสินใจซื้อของลูกค้ามากขึ้นเรื่อย ๆ
โอกาสทางธุรกิจ • ตลาด Australia เปรียบเสมือนยุโรปของ Pacific ชาว Australia เปิดเผยและยอมรับรูปแบบใหม่ ๆ ด้าน design ได้ดี และยอมรับรูปแบบผสมผสานได้ ทำให้สินค้าจากประเทศไทยซึ่งมีความ โดดเด่นด้านนี้สามารถหาตลาดได้ไม่ยาก
โอกาสทางธุรกิจ • ประเทศ Australia อยู่ในซีกโลกด้านใต้ Southern hemisphere ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับลูกค้าในตลาดหลักของไทยคือยุโรป และอเมริกา โดยปกติลูกค้าไม่ซื้อสินค้าทั้งปี (seasonal market) การที่ตลาดอยู่คนละส่วนทำให้สามารถวางแผนการผลิตได้ตลอดทั้งปี โดยไม่ต้องหยุดระหว่างฤดูกาล ขณะเดียวกันก็สามารถกำจัด stock ของที่เหลือจากการขายที่ยุโรปและอเมริกาได้
โอกาสทางธุรกิจ • Australia มีตลาดนักท่องเที่ยวสูงมาก นอกเหนือจากใน Australia เองลูกค้าจากต่างประเทศสามารถซื้อสินค้ากลุ่มเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่ง นำกลับไปบ้านตัวเองได้อีกทางด้วย.
โอกาสทางธุรกิจ • การที่ประเทศไทย มีสัญญาด้าน FTA กับ Australia จะให้โอกาสกับสินค้าจากประเทศไทยมีโอกาสด้านต้นทุนถูกลง ในตลาด Australia
ข้อกีดขวางทางธุรกิจ • มีสินค้ากลุ่มเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่ง จำนวนมากมาจาก China, Vietnam, Indonesia, Malaysia ซึ่งราคาถูกกว่าประเทศไทยมาก
ข้อกีดขวางทางธุรกิจ • ตลาด Australia เข้าใจว่า สินค้ากลุ่มเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่ง จากประเทศไทยอยู่กลุ่มเดียวกับสินค้าอื่น ๆ ในเอเชีย อยู่ในกลุ่มไม่มี design ของตัวเอง และมีราคาถูกจับตลาดล่าง (wrong image/ wrong positioning)
ข้อกีดขวางทางธุรกิจ • ชาวออสเตรเลียไม่ค่อยรู้จักคุณภาพสินค้าจากประเทศไทย และไม่เคยได้มาดูงาน Thailand International Furniture Fair
ข้อกีดขวางทางธุรกิจ • ผู้ขายปลีกใน Australia กำลังประสบปัญหาด้านยอดขายและกำไรซึ่งมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ พ่อค้าปลีกจะต้องพยายามหาต้นทุนที่ต่ำสุดสำหรับตัวเอง
ตลาด Furniture ใน Australia สามารถแบ่งภาพรวมของตลาด Furniture Market อย่างกว้าง ๆ ดังนี้ • 20% design element/ contemporary (มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น) สินค้ากลุ่มที่มีการลงทุนด้าน design และมีการพัฒนาแบบอย่างโดดเด่น มีรูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ • 60%commodity (มีแนวโน้มลดลง) สินค้ากลุ่มทั่วไป ที่เป็นแบบเรียบ ๆ ไม่ได้เน้นด้าน design และเน้นด้านคุณภาพ และราคามากกว่า • 20% low end (มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น) สินค้ากลุ่มทั่วไป เน้นด้านราคาถูก และการใช้งาน
รูปแบบการขายเฟอร์นิเจอร์ใน Australia • กลุ่มห้างสรรพสินค้า • David Jones • Mayer
รูปแบบการขายเฟอร์นิเจอร์ใน Australia • กลุ่มร้านค้าปลีกที่มีสาขาย่อยมากมาย • Space (design element) • Domayn (commodity – high) • Capricon • Harvey Norman (commodity – low) • Ikea (commodity – low/ first timer customer) • Freedom / Bay Swiss (commodity – medium to low end) • Fantastic (low end)
รูปแบบการขายเฟอร์นิเจอร์ใน Australia • กลุ่มร้านค้าอิสระรายย่อย ขายปลีก มีทั้งระดับ สูงและต่ำมีทั้งผลิตเองและนำเข้าจากอิตาลี หรือเอเชีย
กลุ่มสินค้าที่มีโอกาสสำหรับ กลุ่มเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่ง จากประเทศไทย • 1. design element/ contemporary (มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น) • 2. commodity (มีแนวโน้มลดลง) • 3. low end (มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น) สินค้ากลุ่มทั่วไป ที่เน้นด้านราคาถูก และการใช้งาน
ประเด็นที่ผู้ส่งออกของไทยต้องคำนึงถึงประเด็นที่ผู้ส่งออกของไทยต้องคำนึงถึง • ผู้ผลิตจากประเทศไทย ไม่สามารถคาดหวังจำนวนการสั่งซื้อมากเหมือนกับทางอเมริกา หรือ ยุโรปเพราะ Australia เป็นตลาดที่เล็กกว่ามาก • เราต้องพร้อมที่จะพัฒนารูปแบบให้เหมาะกับตลาด มีความยืดหยุ่นด้านการผลิตสินค้า และการเปลี่ยนแปลงให้เหมาะกับตลาด Willing to develop/ modify products (flexibility) • ผู้ผลิตต้องหาคนติดตาม หรือ ประสานงานติดต่อกลับลูกค้าอย่างได้อย่างรวดเร็ว
คำแนะนำ กลยุทธ์สำหรับสินค้าไทยไป Australia • ทำอย่างไรที่จะสร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้สินค้าไทย เช่น • Germany: รูปแบบที่เน้นด้านการพัฒนาวิศวกรรมที่ดีและทันสมัย • Italy: รูปแบบที่ ทันสมัย และร่วมสมัย ใช้วัสดุทันสมัยมีการออกแบบ • Scandinavia: รูปแบบที่เน้นรูปทรงการใช้งาน รูปแบบที่สะอาด ชัดเจน และเป็นเอกลักษณ์
คำแนะนำ กลยุทธ์สำหรับสินค้าไทยไป Australia • การโฆษณา หรือประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างภาพของรูปแบบ และคุณภาพสินค้าไทย เพื่อสร้างความแตกต่างในตลาด จากประเทศคู่แข่ง
สถานทูตไทยในออสเตรเลียสถานทูตไทยในออสเตรเลีย • Royal Thai Embrassy Address : 111 Empire Circuit, Yarralumla, A.C.T. 26000 Canberra Tel. (612) 6273-1149 Fax. (612) 6273-1518 Email : rtecanberra@mserv.mfa.go.th Website : Thaiembassy.org.au
สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทยสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทย • ที่อยู่ : 1267/3 ซอยลาดพร้าว 35 ถนนลาดพร้าว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 • Tel : 0-25136262-3 • Fax : 0-25131082 • Email : office@tfa.or.th • Website : www.tfa.or.th