1 / 36

การจัดการสินค้าคงคลัง

การจัดการสินค้าคงคลัง. บทที่ 10. หน้าที่ของสินค้าคงคลัง. สินค้า คงคลัง ( Inventory) หมายถึง สินค้า หรือวัสดุที่เก็บไว้เพื่อการใช้งานหรือจำหน่ายในอนาคต โดยทั่วไป สินค้าคงเหลือที่เก็บไว้ในองค์การหรือหน่วยงาน ใดๆ จำแนก ได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้

Download Presentation

การจัดการสินค้าคงคลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง บทที่ 10.

  2. หน้าที่ของสินค้าคงคลังหน้าที่ของสินค้าคงคลัง สินค้าคงคลัง (Inventory) หมายถึง สินค้าหรือวัสดุที่เก็บไว้เพื่อการใช้งานหรือจำหน่ายในอนาคต โดยทั่วไปสินค้าคงเหลือที่เก็บไว้ในองค์การหรือหน่วยงานใดๆ จำแนกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. วัตถุดิบและชิ้นส่วนเพื่อการผลิต 2. ป้องกันการเปลี่ยนแปลงความต้องการและเป็นทางเลือกให้กับลูกค้า 3. สร้างความได้เปรียบจากส่วนลดการสั่งซื้อ 4. ป้องกันกรณีการเกิดภาวะเงินเฟ้อ

  3. ประเภทของสินค้าคงคลังประเภทของสินค้าคงคลัง 1. วัตถุดิบและชิ้นส่วนเพื่อการผลิต 2. สินค้าคงคลังประเภทงานระหว่างทำ คือสินค้าที่ยังเสร็จไม่สมบูรณ์ 3. สินค้าคงคลังประเภทอะไหล่สำหรับการซ่อมบำรุง 4. สินค้าคงคลังประเภทผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป

  4. สรุปความสำคัญ 1. ทำให้โรงงานสามารถผลิตสินค้าหรือเดินเครื่องจักรได้ตลอด สม่ำเสมออย่างเต็มกำลังการผลิตและทำให้ต้นทุนการผลิตต่ำลง 2. ช่วยทำให้การผลิตไม่หยุดชะงัก แม้เครื่องจักรจะชำรุดเสียหาย 3. ช่วยให้โรงงานสามารถเก็บสินค้าไว้ได้ในช่วงราคาสินค้าตกต่ำ 4. ช่วยทำให้โรงงานมีสินค้าจำหน่ายในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ไม่ คาดฝัน 5. ช่วยทำให้การผลิตและการจ้างแรงงานเป็นไปโดยสม่ำเสมอ ไม่ทำให้เกิดการ ทำงานหรือเดินเครื่องเปล่า

  5. กลุ่มสินค้า A 80 70 60 50 40 30 20 10 0 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าสินค้าคงเหลือ (Percent of annual dollar usage) กลุ่มสินค้า B กลุ่มสินค้า C 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 กราฟแสดงการวิเคราะห์สินค้าคงเหลือด้วยวิธี ABC

  6. ตัวอย่างที๋ 1. บริษัทเมืองไทยอิเล็กทรอนิกส์ มีสินค้าทั้งสิ้น 10 รายการ สามารถแสดงการแบ่งประเภทสินค้าตามหลักการของวิธี ABC ได้ดังนี้ แสดงการแบ่งกลุ่มสินค้าคงเหลือตามหลักการของวิธี ABC ของบริษัทเมืองไทยอิเล็กทรอนิกส์

  7. ผลการจัดแบ่งสินค้าเป็นกลุ่มผลการจัดแบ่งสินค้าเป็นกลุ่ม

  8. การคำนวณเพื่อจัดแบ่งกลุ่มสินค้าคงเหลือตามวิธี ABC

  9. การจัดทำบันทึกรายการสินค้าที่ถูกต้องแม่นยำ (Record Accuracy) • ต้องมีระบบการจัดการที่ดี • ห้องจัดเก็บ • พื้นที่จัดเก็บ • ใช้ระบบ Bar-code

  10. เทคนิคการตรวจสอบความถูกต้องโดยอาศัยการตรวจนับตามรอบเวลา(Cycle Counting) เป็นเทคนิคในการรักษาปริมาณสินค้าคงเหลือให้มีความถูกต้องแม่นยำเสมอโดยการตรวจนับเป็นประจำ เช่น กลุ่ม A ตรวจนับทุกเดือน กลุ่ม B ตรวจนับทุก 3 เดือน กลุ่ม A ตรวจนับทุก 6 เดือน

  11. การควบคุมสินค้าคงเหลือด้านการบริการ(Control of Service Inventory) เทคนิคในการบริการมีดังนี้ • ทำการคัดเลือกบุคลากร จัดการฝึกอบรม การออกกฎระเบียบ • การควบคุมการรับสินค้าอย่างเคร่งครัด เช่น ระบบ Bar- code ,Stock Keeping Unit : SKU • ใช้อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการควบคุมสินค้า เช่น กระจก,เครื่องเล่นเทป

  12. การตัดสินใจพื้นฐานเกี่ยวกับสินค้าคงคลังการตัดสินใจพื้นฐานเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง จึงมีอยู่ด้วยกัน 2 ประการ คือ ประการที่ 1 จะสั่งซื้อครั้งละเท่าไร ประการที่ 2 จะสั่งซื้อจำนวนนี้เมื่อใด

  13. การหาปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสม(Economic Order Quantity) • การกำหนดปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด เป็นการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อต้นทุนค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ และค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาที่ประหยัด

  14. Q ปริมาณสินค้าในคลังสินค้า Q สินค้าคงคลัง จุดสั่งซื้อสินค้า (Reorder point) T (เวลา) O จุดที่รับสินค้า จุดรับสินค้า จุดสั่งสินค้า ช่วงเวลาก่อนสินค้ามาถึง (Lead time) วงจรสินค้าคงคลัง

  15. สินค้าคงคลัง Q Q Q Q 2 สินค้าเฉลี่ย O t t ระยะเวลา 1 ปี Q สินค้าคงคลัง สินค้า เฉลี่ย t t t t t ระยะเวลา 1 ปี การสั่งซื้อมากครั้ง (5 ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังน้อย การสั่งซื้อน้อยครั้ง (2ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังมาก

  16. การคำนวณ Q : ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง(บาท) C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วย ต่อปี(บาท) D : ปริมาณการใช้ตลอดปี(หน่วย) P : ราคาสินค้าต่อหน่วย TC : ค่าใช้จ่ายรวมตลอดปี

  17. จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ (ครั้ง/ปี) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง (บาท/ปี) ปริมาณสินค้าเฉลี่ย หน่วย ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วยต่อปี ค่าใช้จ่ายสำหรับตัวสินค้าแต่ละตัว (บาท/ปี) ค่าใช้จ่ายรวม (บาท/ปี) ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง

  18. ตัวอย่าง โรงานผลิตรถจักรยานยนต์ยี่ห้อหนึ่งสั่งอะไหล่มาประกอบ เพื่อผลิตรถจักรยานยนต์ปีละ 45,000 ชิ้น ราคาชิ้นละ 60 บาท ต้นทุนในการสั่งซื้อต่อครั้งเท่ากับ 120 บาท ต้นทุนในการเก็บรักษาต่อปี 5 บาทต่อชิ้น จงหา ก) โรงงานแห่งนี้ควรซื้อครั้งละกี่ชิ้น ข) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้วจะสั่งซื้อกี่ครั้ง ค) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้วจะมีต้นทุนในการสั่งซื้อตลอดปี เป็นเงินเท่าใด ง) เมื่อสั่งซื้อตามข้อ ก แล้ว จะมีต้นทุนในการเก็บรักษาตลอดปีเท่าใด

  19. ชิ้น จาก D : ปริมาณการใช้ตลอดปี 45,000 ชิ้น O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง 120 บาท C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี 5 บาท Q : จำนวนครั้งในการสั่งซื้อเป็นหน่วยต่อครั้ง จะได้

  20. ครั้ง บาท จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ต้นทุนในการสั่งซื้อตลอดปี Q X O = 30 X 120 = 3600 บาท ต้นทุนในการเก็บรักษาตลอดปี

  21. กรณี เมื่อทราบปริมาณการใช้และทราบ LT ที่ไม่แน่นอน ROP = (T X LT) + สินค้าสำรอง เมื่อ ROP :จุดสั่งซื้อสินค้า LT : LEAD Time T : ปริมาณการใช้ต่อวัน

  22. จุดสั่งซื้อ ระดับการสั่งซื้อใหม่ ขนาดสินค้าขาดมือ ช่วงเวลาสินค้าปกติ ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ กรณี รับวัตถุดิบล่าช้า

  23. จุดสั่งซื้อ ระดับการสั่งซื้อใหม่ ขนาดสินค้าขาดมือ ช่วงเวลาสินค้าปกติ ช่วงเวลาสินค้าขาดมือ ตัวอย่าง กิจกรรมของโรงงานหนึ่งต้องการใช้ไม้ยางพาราในการผลิตสินค้าวันละประมาณ 1,500 กิโลกรัม เมื่อสั่งยางพาราไปแล้วจะรับภายใน 3 วัน ดังนั้นเมื่อเกิดความไม่แน่นอนโรงงาน จึงสำรองยางพาราเอาไว้ 2,000 กิโลกรัม ROP= (T X LT) + สินค้าสำรอง = (1500 X 3) + 2000 = 6500 กิโลกรัม

  24. ต้นทุนรวม (บาท) TC TC1 TC3 TC2 ปริมาณ Q2 EOQ Q1 การหาปริมาณการสั่งซื้อกรณีสินค้ามีส่วนลด

  25. ตัวอย่างที่โรงงานแห่งหนึ่งต้องการซื้อหลอดไฟปีละ3,000 หลอดโรงงานที่จำหน่ายมีส่วนลดดังนี้ มีค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อครั้งละ50บาท มีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 18 %ของราคาซื้อต่อหลอด ให้หาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมและต้นทุนรวมทั้งปี

  26. วิธีทำ D 3,000 หลอดต่อปี O 50 บาท C 0.18 X ราคาสินค้าต่อหน่วยขั้นตอนที่ 1 การหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมทุกช่วงการลดราคา EOQ(หลอดละ 15 บาท) หลอด EOQ(หลอดละ 10 บาท) หลอด EOQ(หลอดละ 8 บาท) หลอด

  27. ขั้นตอนที่ 2 ปรับปริมาณการซื้อเป็นไปตามการซื้อที่แท้จริง ช่วง 1 –799 เป็น 334 หน่วย ช่วง 800 –1,199 เป็น 800 หน่วย ช่วง 1,200 ขึ้นไป เป็น 1,200 หน่วยขั้นตอนที่ 3 คำนวณหาต้นทุนปริมาณการสั่งซื้อ ต้นทุนรวม

  28. ต้นทุนรวม(334 หลอด) ต้นทุนรวม(800 หลอด) ต้นทุนรวม(1,200 หลอด)

  29. สรุปจะเห็นว่าต้นทุนที่ต่ำสุดคือซื้อ >1,200 หลอด

  30. การหาปริมาณการผลิตที่เหมาะสมการหาปริมาณการผลิตที่เหมาะสม จำนวนครั้งที่ผลิต เมื่อ P อัตราการผลิต D ปริมาณความต้องการ Q ปริมาณการผลิต U อัตราการใช้ต่อวัน S ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักรต่อครั้ง ระดับการผลิตที่เหมาะสม (Qp)

  31. ระยะเวลาการใช้สินค้าที่เหมาะสมระยะเวลาการใช้สินค้าที่เหมาะสม ระยะเวลาการใช้สินค้า = ปริมาณการผลิต(U)/อัตราการใช้(U) ระยะเวลาการผลิตสินค้าใหม่ = ปริมาณการผลิต(Q)/อัตราการผลิต(Q) ต้นทุนในการตั้งเครื่องจักร = จำนวนครั้งที่ผลิต X ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่อง ต่อ ครั้งต้นทุนในการติดตั้งเครื่อง

  32. ตัวอย่าง โรงงานพลาสติกแห่งหนึ่งต้องการชิ้นส่วนในการประกอบสินค้าอย่างหนึ่งปีละ 46,000 ชิ้น แต่ละชิ้นส่วนที่ต้องการนี้ โรงงานผลิตชิ้นส่วนได้เองวันละ 200 ชิ้น ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาชิ้นละ 5 บาทต่อปี และมีค่าใช้จ่ายในการเดินเครื่องจักรครั้งละ 10 บาทต่อชิ้น โดยที่ 1 ปีมีเวลาทำงาน 250 วัน จงคำนวณหา1.จำนวนการผลิตที่เหมาะสม (Q) 2.ระยะเวลาในการใช้สินค้าที่เหมาะสม 3.ระยะเวลาในการผลิตที่เหมาะสม

  33. ชิ้น เมื่อ D 46,000 ชิ้น Q ปริมาณการผลิต C 5 บาท/ชิ้น S 10 บาท P 200 ชิ้น U 46,000 ชิ้น/ปี (250 วัน ผลิตได้วันละ 184 ชิ้น) วิธีทำ 1. จำนวนการผลิตที่เหมาะสม

  34. วิธีทำ 2. ระยะเวลาการใช้สินค้าที่เหมาะสม ระยะเวลาการใช้สินค้า วัน

  35. วัน วิธีทำ 3. ระยะเวลาการผลิตใหม่ที่เหมาะสม ระยะเวลาการผลิตสินค้าใหม่

  36. สรุป • สินค้าคงคลังหรือสินค้าคงเหลือ หมายถึง วัสดุที่มีรูปร่างของวัตถุดิบ วัสดุการผลิต อะไหล่เชื้อเพลิง สินค้าที่อยู่ในระหว่างการผลิต ตลอดทั้งสินค้าสำเร็จรูปที่ทางโรงงานเก็บไว้ในโกดัง หรือคลังสินค้า เพื่อรอการผลิต รวมซ่อมชำรุด หรือเพื่อรอจำหน่าย ในการบริหารสินค้าคงคลัง ผู้บริหารจะต้องกำหนดให้สินค้าคงคลังมี อยู่อย่างเหมาะสม หากโรงงานเก็บสินค้าคงคลังไว้มากเกินไปจะทำให้เกิดการสูญเสียในรูปดอกเบี้ย(ต้นทุนจม)

More Related