380 likes | 691 Views
แนวทางการดำเนินงาน ระบบควบคุมภายในประจำปี 2555 . ของสถานศึกษา. สพฐ. กำหนดหน่วยรับตรวจและส่วนงานย่อย ดังนี้. แบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจ. แบบ ปอ.1 : หนังสือรับรองการประเมินผล การควบคุมภายใน แบบ ปอ.2 : รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ
E N D
แนวทางการดำเนินงานระบบควบคุมภายในประจำปี 2555.ของสถานศึกษา
สพฐ. กำหนดหน่วยรับตรวจและส่วนงานย่อย ดังนี้
แบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจแบบฟอร์มของหน่วยรับตรวจ • แบบ ปอ.1 : หนังสือรับรองการประเมินผล การควบคุมภายใน • แบบ ปอ.2 : รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน • แบบ ปอ.3 : รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน • แบบติดตาม ปอ.3 : รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตาม แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
แบบฟอร์มของส่วนงานย่อยแบบฟอร์มของส่วนงานย่อย • แบบ ปย.1 : รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน • แบบ ปย.2 : รายงานการประเมินผลและการปรับปรุง การควบคุมภายใน • แบบติดตาม ปย.2 : รายงานผลการติดตามการปฏิบัติ ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน
ส่วนงานย่อยรายงานรอบ 12 เดือน สิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. 55 ให้ดำเนินการ ดังนี้ 1. นำแบบ ปย.2 (ปี 54) มาติดตามผลการปฏิบัติงานแล้ว สรุปลงใน แบบติดตาม ปย. 2
งาน................................... แบบติดตาม ปย . 2รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................... วันที่.............เดือน..........พ.ศ.......
งาน................................... แบบติดตาม ปย . 2รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2555
ส่วนงานย่อยรายงานรอบ 12 เดือน 2. ประเมินองค์ประกอบตามมาตรฐานการควบคุมภายใน ของ สตง. 5 องค์ประกอบ แล้วสรุปลงใน แบบ ปย.1
งาน................................... แบบ ปย. 1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................... วันที่.............เดือน..........พ.ศ.......
ส่วนงานย่อยรายงานรอบ 12 เดือน 3. ประเมินการควบคุมภายในด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA) เป็นกระบวนการสร้างความรับผิดชอบในการควบคุมภายในให้แก่ทุกคนที่เป็นเจ้าของงานนั้น
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 1. ให้วิเคราะห์งานที่มีความเสี่ยงสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 2. ทำความเข้าใจถึงผลสำเร็จ ของงานที่เลือกว่าต้องการให้เกิดผลสำเร็จอะไร
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3. งานที่เลือกมานั้นมีขั้นตอนหรือกระบวนการปฏิบัติ ที่จะทำให้งานนั้นสำเร็จมีขั้นตอนอะไรบ้าง ขั้นตอนที่ 4. แต่ละขั้นตอนมีวัตถุประสงค์ความสำเร็จอย่างไร
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 5. พิจารณาว่าถ้าไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เกิดจากสาเหตุอะไร (ระบุปัจจัยเสี่ยง) อะไรบ้าง 1.........2........3...... (เป็นปัจจัยภายใน/ภายนอก)
ตัวอย่างการระบุปัจจัยเสี่ยงตัวอย่างการระบุปัจจัยเสี่ยง
ตัวอย่างการระบุปัจจัยเสี่ยงตัวอย่างการระบุปัจจัยเสี่ยง
ตัวอย่างการระบุปัจจัยเสี่ยงตัวอย่างการระบุปัจจัยเสี่ยง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 6. ให้วิเคราะห์ว่างานที่ปฏิบัติอยู่จริงในขณะประเมินมีกิจกรรมการควบคุมอย่างไร มีการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ,คำสั่งหรือมีวิธีการอื่นๆ
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 7. ให้วิเคราะห์ว่าที่ปฏิบัติอยู่จริงนั้น สามารถลดหรือควบคุมความเสี่ยงได้หรือไม่ สรุปว่า ได้/เพียงพอ ไม่ได้/ไม่เพียงพอ ยังมีปัญหา
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 8. ถ้าพบว่ายังมีปัญหาอยู่ เกิดจากสาเหตุอะไร จะแก้ไข อย่างไร ใครเป็นคนแก้ไข วัน/เดือน/ปี แล้วเสร็จ
การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง Control self Assessment (CSA) ►กำหนดกิจกรรมการควบคุมใหม่ หรือเพิ่มเติมเพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ (แก้ที่ต้นเหตุ/สาเหตุ) งานที่มีความเสี่ยงสูง CSA ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง แผนปรับปรุงการควบคุม ► ต้องการให้เกิดผลสำเร็จอะไร วัตถุประสงค์ของงาน กระบวนการปฏิบัติงาน ► ขั้นตอนงานมีอะไรบ้าง ปัจจัยเสี่ยงที่ยังมีอยู่ กิจกรรมควบคุมที่มี ►มีวัตถุประสงค์ (ย่อย) อะไรบ้าง ►ถ้างานยังมีความเสี่ยงวิเคราะห์ หาต้นเหตุ/สาเหตุเกิดจากอะไร (ปัจจัยภายในหรือภายนอก) ►มีหรือไม่/ ถ้ามี อะไรบ้าง เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน การรายงาน ►ถ้ามีประสิทธิภาพงานบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย (ไม่เสี่ยง) ►งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์/ เป้าหมาย (เสี่ยง) การควบคุมไม่มีประสิทธิภาพ
ส่วนงานย่อยรายงานรอบ 12 เดือน 4 นำความเสี่ยงที่ยังหลงเหลืออยู่จากการติดตาม ปย.2 +ความเสี่ยงที่พบจากการประเมิน 5 องค์ประกอบ + การ ประเมิน CSA มาหามาตรการ/แนวทางในการควบคุม พร้อมทั้งกำหนด ผู้รับผิดชอบและระยะเวลาดำเนินการ แล้ว สรุปลงใน แบบ ปย.2
งาน................................... แบบ ปย. 2 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................... วันที่.............เดือน..........พ.ศ.......
สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงานส่วนงานย่อย 1. แบบ ปย.2 (ปี 54) 3. ประเมินด้วยตนเอง CSA แบบสอบถาม (ถ้ามี) 2. ประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบติดตาม ปย.2 แบบ ปย.1 4. แบบ ปย.2 (ปี 55) หน่วยรับตรวจ
สรุปแบบรายงานที่ต้องดำเนินการสรุปแบบรายงานที่ต้องดำเนินการ แบบที่จัดส่งให้ หน่วยรับตรวจ • แบบ ปย.1 • แบบ ปย.2 • แบบติดตาม ปย. 2 แบบที่เก็บไว้ที่ กลุ่ม/งาน -แบบประเมิน 5 องค์ประกอบ
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ขั้นตอนที่ 1 - นำแบบ ปอ. 3 (ปี 54) มาติดตามผลการปฏิบัติงานแล้วสรุปลงในแบบติดตาม ปอ.3 - นำแบบ ปย. 2 ของกลุ่มในปีงบประมาณ 2555 มาจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
โรงเรียน ..................................... แบบติดตาม ปอ. 3 การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................... วันที่.............เดือน..........พ.ศ.......
โรงเรียน..............................การติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................... วันที่.............เดือน..........พ.ศ.......
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ขั้นตอนที่ 2 ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ แล้วสรุปลงในแบบ ปอ.2
โรงเรียน....................................... แบบ ปอ. 2รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................... วันที่.............เดือน..........พ.ศ.......
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจ ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ขั้นตอนที่ 3ประเมินตามแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 4ประเมินโดยวิธีอื่นๆ ผลการประเมินของ สมศ, ผลการประเมินแผนงาน/โครงการ ขั้นตอนที่ 5นำผลการประเมิน ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1-4 ที่ยังมี ความเสี่ยงหลงเหลืออยู่ และ ปย.2 มาพิจารณาจัดทำแผนปรับปรุง บันทึกใน แบบ ปอ.3
โรงเรียน................................... แบบ ปอ. 3รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ชื่อผู้รายงาน............................... ตำแหน่ง.................................... วันที่.............เดือน..........พ.ศ.......
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ขั้นตอนที่ 6 นำความเสี่ยงที่มีอยู่ในแบบ ปอ.3 มาสรุปเป็น ความเรียงลงใน แบบ ปอ. 1
หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน วรรคที่ 1(ชื่อหน่วยรับตรวจ)ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่........เดือน.........พ.ศ......... ด้วยวีการที่ (ชื่อหน่วยรับตรวจ)กำหนดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่าสมเหตุสมผลว่า................................................................................................... วรรคที่ 2จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ(ชื่อหน่วยรับตรวจ) สำหรับปีสิ้นสุด วันที่.........เดือน...........พ.ศ............ เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ วรรคที่ 3อนึ่งการควบคุมภายในยังคงมีจุดอ่อนที่มีนัยสำคัญดังนี้ 1……………………………………..…. 2………………………………..……… ลายมือชื่อ............................................. ผอ.โรงเรียน.................................................. วัน.........เดือน.............................พ.ศ. ..............
สรุปขั้นตอนการจัดทำรายงานหน่วยรับตรวจ 3. ประเมินแบบสอบถาม 4. ประเมินโดยวิธีอื่นๆ และ ปย.2 1. แบบปอ. 3 (ปี 54) 2. ประเมิน 5 องค์ประกอบ แบบติดตามปอ. 3 แบบ ปอ. 2 5. แบบปอ. 3 (ปี 55) • รายงาน สตง. • - รายงาน สพท. 6. แบบ ปอ. 1
สรุปแบบรายการควบคุมภายในสรุปแบบรายการควบคุมภายใน
ที่อยู่สำนักตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 4 นครราชสีมา สำนักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดนครราชสีมา ถนนช้างเผือก อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000
“ความสำเร็จของการควบคุมภายใน“ความสำเร็จของการควบคุมภายใน เกิดจากความร่วมมือ ร่วมใจของทุกคน” สวัสดีค่ะ