1 / 55

เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงาน

เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงาน. บรรยายโดย อาจารย์ศุภชัย ปัญญาวีร์. เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงาน. 1. ระบบปรับอากาศ

wirt
Download Presentation

เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงานเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงาน บรรยายโดย อาจารย์ศุภชัย ปัญญาวีร์

  2. เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงานเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงาน 1. ระบบปรับอากาศ 1 ) เครื่องทำความเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำ -Centrifugal Chiller - Reciprocating Chiller - Package Unit - Screw Chiller

  3. เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงานเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลพลังงาน 2 ) เครื่องทำความเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ - Centrifugal Chiller - Reciprocating Chiller - Package Unit - Split Type

  4. ระบบปรับอากาศ Typical Water – Cooled Chiller System มาตรฐานการปรับอากาศในอาคาร

  5. Self – Contained Package A/C Unit

  6. Vertical Packaged Unit

  7. Split – System Packaged Unit

  8. 2. การบันทึกข้อมูลรายละเอียดของระบบปรับอากาศ • ก. ข้อมูลรายละเอียดของระบบปรับอากาศแบบหน่วยเดียวจะถูกบันทึก ไว้ โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลตามตารางที่ 2 • ข.      ข้อมูลรายละเอียดของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์จะถูก บันทึกไว้โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลตามตารางที่ 3 • ค.      ข้อมูลรายละเอียดของอุปกรณ์ประกอบระบบอากาศเช่น AHU ฯลฯ จะถูกบันทึกไว้โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลตาม ตารางที่ 4

  9. รายละเอียด ประเภทเครื่องทำความเย็น เครื่องทำน้ำเย็นแบบระบายความร้อนด้วยน้ำ เครื่องทำน้ำเย็นแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ รายละเอียด เครื่องที่1 เครื่องที่2 เครื่องที่3 ประเภทเครื่องอัด ขนาดทำความเย็น ตัน/ชั่วโมง ขนาดเครื่องอัด กิโลวัตต์ รายละเอียดอุปกรณ์ประกอบ เครื่องที่ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ขนาดอุปกรณ์ ประกอบระบบ ระบายความร้อน ด้วยน้ำ เครื่องสูบน้ำเย็น กิโลวัตต์ ลิตร/ชั่วโมง เครื่องสูบน้ำหล่อเย็น กิโลวัตต์ ลิตร/ชั่วโมง หอผึ่งน้ำ กิโลวัตต์ ขนาดอุปกรณ์ ประกอบระบบ ระบายความร้อน ด้วยอากาศ เครื่องสูบน้ำเย็น กิโลวัตต์ ลิตร/ชั่วโมง พัดลมระบายความร้อน กิโลวัตต์ ชื่อผู้ผลิตเครื่องทำน้ำเย็น เดือน/ พ.ศ. ที่ติดตั้งใช้งาน สถานที่ใช้งาน หมายเหตุ ตารารางที่3แบบบันทึกข้อมูลรายละเอียดของระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย์(จากทั้งหมด…..…เครื่อง)

  10. ตารางที่ 4 แบบบันทึกข้อมูลรายละเอียดของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้าอื่นๆ

  11. 3. การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็น 3.1 Centrifugal, Reciprocating and Screw Chiller TON = ความสามารถในการทำความเย็นที่ภาระเต็ม พิกัด มีหน่วยวัดเป็น ตันความเย็น หาได้จาก TON = ( F x T ) / 50.4 F = ปริมาณน้ำเย็นที่ไหลผ่านส่วนทำน้ำเย็น มีหน่วยวัดเป็น ลิตรต่อนาที T = อุณหภูมิแตกต่างของน้ำเย็นที่ไหลเข้าและไหล ออกจากส่วนทำน้ำเย็น มีหน่วยวัดเป็น kW= กำลังไฟฟ้าที่ใช้ของส่วนทำน้ำเย็น หน่วยกิโลวัตต์

  12. 3. การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็น 3.1 Centrifugal, Reciprocating and Screw Chiller ข้อมูลที่ต้องตรวจวัดประกอบไปด้วย 1 ) อุณหภูมิน้ำเย็นขาเข้า , Ti = ……0C 2 ) อุณหภูมิน้ำเย็นขาออก , To = ……. 0C 3 ) อัตราการไหลของน้ำเย็น , F = ……. l/min 4 ) กำลังไฟฟ้าใช้งาน , kW = ……. kW

  13. 3. การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็น ข้อมูลที่ได้จากการคำนวณ คือ 1. ความสามารถในการทำความเย็น , TON 2. สมรรถนะเครื่องทำน้ำเย็น , ChP สมการ TON = 500 x F x T 12,000 F มีหน่วยเป็นแกลอนต่อนาที T มีหน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮท์

  14. 3.2 การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ Package Unit and Split Type TON = 5.707 x 10-3 x CMM x H CMM = ปริมาณลมเย็นที่ไหลผ่านชุดจ่ายลมเย็น มีหน่วยวัดเป็น ลูกบาศก์เมตรต่อนาที H = ผลต่างของ Enthalpy ของอากาศที่ไหลออกจาก ชุดจ่ายลมเย็นและชุดลมกลับมีหน่วยเป็น kJ / kg kW = กำลังไฟฟ้าที่ใช้ของเครื่องทำความเย็นทั้งระบบ มีหน่วยวัดเป็น กิโลวัตต์

  15. 3.2 การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็น Package Unit and Split Type ข้อมูลที่ต้องตรวจวัด 1 ) ด้านจ่ายลม อุณหภูมิกระเปาะแห้ง = …..oC ความชื้นสัมพัทธ์ = ….. %RH ( Enthalpy , Hs ) = ….. kJ / kg 2 ) ด้านลมกลับ อุณหภูมิกระเปาะแห้ง = ……oC ความชื้นสัมพัทธ์ = ….. %RH ( Enthalpy , Hr ) = ….. kJ / kg

  16. 3.2 การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็น Package Unit and Split Type ข้อมูลที่ต้องตรวจวัด 3 ) ความเร็วลมเฉลี่ย , Sm = …… m/min 4 ) พื้นที่หัวจ่ายลม , A = ……. Sq.m. 5 ) กำลังไฟฟ้าใช้งาน , kW = …… kW

  17. 3.2 การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็น Package Unit and Split Type ข้อมูลที่ได้จากการคำนวณ 1 ) ปริมาณลมที่ไหลผ่านเครื่องทำความเย็น , CMM = …… m3/min 2 ) ความสามารถการทำความเย็น , TON = ……. TON 3) สมรรถนะเครื่องทำความเย็น , ChP = …… kW/TON CFM คือ ปริมาณลมเย็นที่ไหลผ่านหัวจ่ายลมเย็น โดยมีหน่วยเป็นลูกบาศก์ฟุตต่อนาที H คือ ค่าแตกต่างของ Enthalpy มีหน่วยเป็น Btu/lb

  18. 3.2 การประเมินประสิทธิภาพการทำความเย็น การคำนวณหาความสามารถในการทำความเย็นของน้ำ สมการ TON = 4.5 x CFM x H 12,000 CFM คือ ปริมาณลมเย็นที่ไหลผ่านหัวจ่ายลมเย็น โดยมีหน่วยเป็นลูกบาศก์ ฟุตต่อนาที H คือ ค่าแตกต่างของ Enthalpy มีหน่วยเป็น Btu/lb

  19. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล 4.1 เครื่องวัด 1 ) Power Meter ( Recorder ) วัดกำลังไฟฟ้า , kW 2 ) Thermometer วัดอุณหภูมิ , Ti ; To 3 ) Psychrometer วัดความชื้น 4 ) Anemometer วัดความเร็วลม , Sm 5 ) Flow Meter วัดอัตราการไหลของของไหล

  20. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล 4.1 ตารางบันทึกข้อมูล 1 ) ตารางบันทึกข้อมูลเครื่องทำน้ำเย็น ตามตารางที่ 5 2 ) ตารางบันทึกข้อมูล เครื่องสูบน้ำ (น้ำเย็นและน้ำหล่อเย็น) ตามตางที่ 6 3 ) ตารางบันทึกข้อมูลหอผึ่งน้ำ ตามตารางที่ 7 4 ) ตารางบันทึกข้อมูลเครื่องส่งลมเย็น (AHU) ตามตารางที่ 8 5 ) ตารางบันทึกข้อมูลเครื่องปรับอากาศ แบบเป็นชุดและแบบแยกส่วน ตามตารางที่ 9

  21. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล ตารางที่ 5 แบบบันทึกข้อมูลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็น เครื่องทำน้ำเย็น หมายเลข..............................

  22. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล ตารางที่ 6 แบบบันทึกข้อมูลเครื่องสูบน้ำ ( น้ำเย็นและน้ำหล่อเย็น)

  23. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล ตารางที่ 6 แบบบันทึกข้อมูลเครื่องสูบน้ำ ( น้ำเย็นและน้ำหล่อเย็น )

  24. 3. การวัดและการบันทึกข้อมูล ตารางที่ 7 แบบบันทึกข้อมูลการหอผึ่งน้ำ

  25. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล ตารางที่ 8 แบบบันทึกข้อมูลการตรวจวัด เครื่องส่งลมเย็น ( AHU )

  26. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล ตารางที่ 9 แบบบันทึกข้อมูลการวัดเครื่องปรับอากาศแบบเป็นชุด และแบบแยกส่วน ข้อมูลการตรวจวัดภาระความเย็น

  27. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล 4.3 ตัวอย่างการตรวจวัดและคำนวณ 1) ตัวอย่างข้อมูลและการวิเคราะห์สรรถนะทำความเย็นของเครื่องทำน้ำเย็น Ti ( oC ) ค่าเฉลี่ย = 10.0 To ( oC ) ค่าเฉลี่ย = 7.5 F ( LPM ) ค่าเฉลี่ย = 6,300 kW ค่าเฉลี่ย = 259 TON ค่าพิกัด = 370

  28. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล 4.3 ตัวอย่างการตรวจวัดและคำนวณ

  29. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล 2) ความผิดพลาดในการตรวจวัดข้อมูล - ความแม่นยำในการวัดอุณหภูมิน้ำเย็น - ความแม่นยำในการวัดอัตราการไหลของน้ำเย็น - ความแม่นยำในการวัดค่ากำลังไฟฟ้า

  30. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล 1) ตัวอย่างการคำนวณค่าสมรรถนะของเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนขนาด 35,500 Btu/h ขนาดพื้นที่ของช่องจ่ายลมเย็น= 1.83 ตารางฟุต ความเร็วลมเย็นเฉลี่ยของหัวจ่าย= 612.5 ฟุตต่อนาที ปริมาตรลมเย็นทั้งหมด= 1.83 x 612.5 = 1,120.88 CFM(SA)

  31. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล อุณหภูมิของอากาศก่อนผ่านคอยล์ = 78.8 oF %RH ของอากาศผสมก่อนผ่านคอยล์ = 62.9 %RH ดังนั้นอ่านค่าเอนทาลปีจากแผนภูมิไซโครเมตริกซ์ได้ = 34.4 Btu/lb อุณหภูมิของอากาศออกจากคอยล์ = 70.7 oF %RH ของอากาศออกจากคอยล์ = 75.4 %RH ดังนั้นอ่านค่าเอนทาลปีจากแผนภูมิไซโครเมตริกซ์ได้ = 31.1 Btu/lb

  32. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล การทำความเย็น = 4.5 x CFM (SA) x [H(MA)-H(SA)] = 4.5 x 1120.88 x [34.4-31.1] = 16,645.07 Btu/lb คิดเป็นตันความเย็น = 16,645.07/12,000 = 1.39 TON ค่าสมรรถนะของเครื่องทำความเย็น (CHP) = 2.2/1.39 kW/TON = 1.58 kW/TON ค่าประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ (EER) = 16,645.07 / (2.2 x 1,000) = 7.56 Btu/h/W

  33. 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล ความผิดพลาดในการตรวจวัดข้อมูล ความผิดพลาดของการวิเคราะห์สมรรถนะของเครื่องปรับอากาศแบบเป็นชุดและแบบแยกส่วนอาจจะเกิดจาก 1 ) ความแม่นยำในการวัดอุณหภูมิของอากาศทั้งก่อนเข้าและออกจากหัวจ่ายลมเย็น 2 ) ความแม่นยำในการวัดอัตราการไหลของลมซึ่งขึ้นกับการวัดความเร็วของลมและ พื้นที่ของหัวจ่ายลมเย็น 3 ) ความแม่นยำในการวัดความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ 4 ) ความแม่นยำในการอ่านค่า Enthalpy ของอากาศจาก Psychrometric Chart 5 ) ความแม่นยำในการวัดค่ากำลังไฟฟ้า

  34. EER (Btu/h/W) แอร์เบอร์ >10.6 5 9.6-10.59 4 8.6-9.59 3 7.6-8.59 2 6.6-7.59 1 4. การวัดและการบันทึกข้อมูล ความสัมพันธ์ของ EER (Energy Efficiency Ratio) กับแอร์เบอร์ 1-5

  35. 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 ตัวอย่าง #1 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วย น้ำหมายเลข R-05 5.2 ตัวอย่าง #2 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วย น้ำหมายเลข R-04 5.3 ตัวอย่าง #3 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วย น้ำหมายเลข CH-1 5.4 ตัวอย่าง #4 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วย น้ำหมายเลข CH-3 5.5 ตัวอย่างผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ข้อมูลสมรรถนะของเครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน

  36. ตัวอย่างที่ 1 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข R-05 TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  37. ตัวอย่างที่ 1 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข R-05 TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  38. 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  39. ตัวอย่างที่ 1 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข R-05 TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  40. ตัวอย่างที่ 2 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข R-04 TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  41. ตัวอย่างที่ 2 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข R-04TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  42. 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  43. ตัวอย่างที่ 3 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข CH-1TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  44. ตัวอย่างที่ 3 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข CH-1TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  45. ตัวอย่างที่ 3 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็นชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำหมายเลข CH-1TR = F x 60 x (Ti – To) 50.4 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  46. 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล

  47. 5. ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่างที่ 4 ผลการตรวจวัดเครื่องทำน้ำเย็น หมายเลข CH-3

More Related