1 / 139

กระบวนการและขั้นตอนการบริหารการจัดหาพัสดุ

กระบวนการและขั้นตอนการบริหารการจัดหาพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม. ข. การพัสดุ หมายความว่า. การจัดทำเอง. การซื้อ. การจ้าง. การจ้างที่ปรึกษา. การแลกเปลี่ยน. การจ้างออกแบบและควบคุมงาน. การเช่า. การควบคุม.

Download Presentation

กระบวนการและขั้นตอนการบริหารการจัดหาพัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการและขั้นตอนการบริหารการจัดหาพัสดุกระบวนการและขั้นตอนการบริหารการจัดหาพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข

  2. การพัสดุ หมายความว่า การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การแลกเปลี่ยน การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การควบคุม การจำหน่าย การดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้

  3. (ตัวอย่าง)โครงการจัดทำป้ายสลับข้อความ(ตัวอย่าง)โครงการจัดทำป้ายสลับข้อความ • สตช. มีโครงการจัดทำป้ายสลับข้อความการจราจร โดยให้บริษัทเอกชนเข้ามาลงทุน และรับผิดชอบจ่ายค่ากระแสไฟฟ้า และทำประกันภัยเอง ซึ่ง สตช. จะเก็บเป็นค่าเช่าพื้นที่ จำนวน ๑ใน๓ของพื้นที่ทั้งหมด • มติกวพ.ที่กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๐๑๓๑๙ลว.๒๑ ม.ค.๒๕๕๒ • การจัดหาพัสดุ หมายถึง การซื้อ หรือการจ้าง • กรณีนี้เป็นเรื่องข้อตกลงให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยมิได้มีการแข่งขันราคาต่ำสุด • ถือว่า เป็นสัญญาต่างตอบแทนอย่างหนึ่ง มิใช่การจัดหาพัสดุ • แต่ให้สตช.พิจารณาว่างานโครงการดังกล่าว อยู่ในบังคับของพรบ.ว่าด้วยการร่วมการงานระหว่างรัฐและเอกชน พ.ศ.๒๕๓๕ หรือไม่ด้วย

  4. พัสดุ หมายถึง ระเบียบฯ ข้อ ๕ วัสดุ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ ความหมาย-พัสดุ-เป็นไปตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายของ สำนักงบประมาณ (ด่วนที่สุด ที่สร.๐๗๐๒/ว๕๑ ลว.๒๐ ม.ค.๒๕๔๘)

  5. วัสดุ หมายถึง ๑.รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่โดยสภาพใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไป/แปรสภาพ/ไม่คงสภาพเดิมหรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วย:ต่อชุด ไม่เกิน ๕ พันบาทรวมถึงรายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกันเช่น ค่าขนส่ง ภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น ๒.รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาต่อหน่วยต่อชุดไม่เกิน ๒หมื่นบาท ๔.รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลงต่อเติม/ปรับปรุงครุภัณฑ์ไม่เกิน ๕ พัน/สิ่งก่อสร้างไม่เกิน ๕ หมื่นบาท ๓.รายจ่ายเพื่อประกอบ/ดัดแปลง/ต่อเติม/ปรับปรุงคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน ๕ พันบาท ๕.รายจ่ายเพื่อซ่อมแซม/บำรุง/รักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ

  6. ครุภัณฑ์ หมายถึง ๑.รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วย:ต่อชุด เกินกว่า ๕ พันบาทรวมถึงรายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกันเช่น ค่าขนส่ง ภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น ๒.รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วย:ชุดเกินกว่า ๒หมื่นบาท ๓.รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลงต่อเติม/ปรับปรุงครุภัณฑ์ รวมทั้งคอมพิวเตอร์ ที่มีวงเงินเกินกว่า ๕ พันบาท ๔.รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่นเครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ/ไม่รวมซ่อมปกติ,ค่าซ่อมกลาง ๕.รายจ่ายเพื่อจ้าง ที่ปรึกษาเพื่อจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์

  7. ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อได้มาซึ่งที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สนามบิน สระว่ายน้ำ สะพาน ถนน รั้ว บ่อน้ำ อ่างเก็บน้ำ เขื่อน เป็นต้นรวมถึงรายจ่ายดังนี้ ๒..รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลงต่อเติม/ปรับปรุงที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง เกินกว่า ๕ หมื่น เช่น ค่าจัดสวน ค่าถมดิน ๑.ค่าติดตั้งระบบไฟฟ้า/ประปา.อุปกรณ์ซึ่งติดตั้งครั้งแรกในอาคาร/สถานที่ราชการทั้งก่อน/หลังการก่อสร้าง ๔.รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดหาหรือปรับปรุงที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ๓.รายจ่ายค่าจ้างออกแบบ/คุมงาน ที่จ่ายให้กับเอกชน/นิติบุคคล ๕. รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน

  8. การบริหารจัดการด้านบุคลากรการบริหารจัดการด้านบุคลากร ผู้มีอำนาจและหน้าที่ ในการจัดหาพัสดุ และการมอบอำนาจในการจัดซื้อจัดจ้าง

  9. ผู้มีอำนาจ ในการจัดหาพัสดุ (ข้อ ๙) ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ(เจ้าของอำนาจ) สามารถมอบอำนาจต่อไปอีกได้ • โดยมอบอำนาจของตนไปให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งใดก็ได้ • ทั้งนี้ ให้คำนึงถึง ระดับตำแหน่ง /หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นสำคัญ • ผู้ได้รับมอบอำนาจ มีหน้าที่ต้องรับมอบอำนาจ • และจะมอบอำนาจนั้นต่อไปให้ใครอีกไม่ได้

  10. วิธีตกลงราคา/ สอบราคา/ประกวดราคา (ข้อ ๖๕) หส.ราชการไม่เกิน ๕๐ล้าน ปลัดกระทรวง เกิน ๕๐ ไม่เกิน ๑๐๐ ล้าน - รัฐมนตรี เกิน ๑๐๐ ล้าน วิธีพิเศษ(ข้อ ๖๖) -หส.ราชการไม่เกิน ๒๕ ล้าน -ปลัดกระทรวง เกิน ๒๕ แต่ ไม่เกิน ๕๐ ล้าน -รัฐมนตรี เกิน ๕๐ ล้าน วิธีกรณีพิเศษ (ข้อ ๖๗) -หส.ราชการ ไม่จำกัดวงเงิน ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งให้ซื้อ /จ้างได้แก่ เจ้าของอำนาจจะมอบอำนาจต่อไปอีกก็ได้ตามระเบียบฯข้อ ๙

  11. วงเงินของผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งให้ซื้อ/สั่งให้จ้าง ตามระเบียบข้อ๖๕-๖๗ ให้พิจารณาจากวงเงินที่ได้จากผลการชนะราคา • ตัวอย่างส่วนราชการ ก. ได้รับงบประมาณซื้อคอมพิวเตอร์ ๕๕ ล้านบาทเศษ มีผู้ชนะราคา ๓๗ ล้านบาทเศษ ในการเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อครั้งนี้ จะใช้วงเงินใด • มติ กวพ. ปี ๕๐ อำนาจการสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง มิได้พิจารณาจากวงเงินที่ได้รับจัดสรร /แต่จะพิจารณาวงเงินจากผลการประกวดราคาเป็นเกณฑ์ • ดังนั้น กรณีนี้จึงอยู่ในอำนาจอนุมัติสั่งซื้อของหัวหน้าส่วนราชการ มิใช่ ปลัดกระทรวง

  12. หนังสือมอบอำนาจควรระบุในคำสั่งให้ชัดเจนหนังสือมอบอำนาจควรระบุในคำสั่งให้ชัดเจน หรือ จะจำกัดวงเงิน หรือให้มีอำนาจอนุมัติแก้ไขสัญญา งด/ลดค่าปรับ ขยายสัญญา/อนุมัติสั่งซื้อ/จ้างด้วยให้เขียนให้ชัดเจน (นิยามข้อ ๕ การพัสดุหมายความถึง การดำเนินการที่เกี่ยวกับการจัดทำเอง การซื้อ/การจ้าง/จ้างที่ปรึกษา/จ้างออกแบบและควบคุมงาน/การแลกเปลี่ยน /เช่า /ยืม การโอน การควบคุม และจำหน่าย) • จะมอบอำนาจในเรื่องใด? ให้แก่ใคร ตำแหน่งใด และวงเงินเท่าใด เป็นต้น เช่น -มอบให้ใคร เช่น มอบอำนาจโดยระบุตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทยประจำกรุง... ผอ.โรงพยาบาล /คณบดี)หรือ ระบุตัวบุคคล ให้นายก.ข.... ฯ เป็นต้น -จะมอบให้เรื่องใด/แค่ไหนอย่างไร เช่นการซื้อ/จ้างทุกวิธี ยกเว้น วิธีพิเศษ

  13. (ตัวอย่าง)ผู้ได้รับมอบอำนาจ(ตัวอย่าง)ผู้ได้รับมอบอำนาจ กระทำการจัดหาพัสดุเกินกว่าขอบเขตอำนาจที่ได้รับ • ด่วนที่สุดที่ กค(กวพ.๐๔๒๑.๓/๒๗๕๖๐ลว.๑๔ ต.ค.๕๑) • ผู้บัญชาการตำรวจ...(ก)....อนุมัติสั่งซื้อระบบและปรับปรุงศูนย์ปฏิบัติการควบคุมสั่งการและสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยวิธีพิเศษ ในวงเงินเกินอำนาจที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติมอบอำนาจไว้ จึงเป็นการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามระเบียบข้อ ๙ เมื่อ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เจ้าของอำนาจ ได้ให้สัตยาบันการอนุมัติสั่งซื้อที่ได้กระทำไปแล้ว จึงมีผลสมบูรณ์และถูกต้อง ดังนั้น เพื่อให้การจัดซื้อระบบดังกล่าว ดำเนินการได้ทันต่อการใช้งานเพื่อความปลอดภัยในชีวิต/ทรัพย์สินของประชาชน จึงอนุมัติให้ดำเนินการโดยวิธีพิเศษได้เป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย

  14. ผู้มีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุผู้มีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ ได้แก่ • เจ้าหน้าที่พัสดุ • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ • คณะกรรมการต่าง ๆ • ผู้ควบคุมงาน

  15. ๑.เจ้าหน้าที่พัสดุ (ข้อ๕) ๒.หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ (ข้อ ๕) โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/ พ.ราชการ/พ.มหาวิทยาลัย ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ ผู้มีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ(ต่อ) • โดยแต่งตั้ง ใช้กับกรณีไม่มีเจ้าหน้าที่พัสดุหรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุหรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุไปให้หน่วยงานในสังกัดดำเนินการเอง

  16. ๓.คณะกรรมการต่างๆ (ข้อ ๓๔,๓๕) ๔. ผู้ควบคุมงาน (ข้อ ๓๗) ระเบียบฯพัสดุฉบับที่ ๗ (แก้ไขใหม่) ข้าราชการหรือ/พนักงานราชการ /พ.มหาวิทยาลัย /พนักงานของรัฐ ๓ คน แต่งตั้งจากข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ/ -ที่มีความรู้ด้าน,ช่าง -วุฒิไม่ต่ำกว่า ปวช.

  17. การซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง จะต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆให้ทำหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุกำหนดทุกครั้ง

  18. การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ (ข้อ๓๔) เพื่อให้ทำหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนด มีดังนี้ วิธีสอบราคาคณะกรรมการ เปิดซองสอบราคา วิธีประกวดราคา (มี ๒คณะ)คณะกรรมการ ๑)รับและเปิดซอง ๒)พิจารณาผล วิธีพิเศษคณะกรรมการจัดซื้อ/จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ งานจ้างที่ปรึกษา คกก.จ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง/คัดเลือก งานซื้อ/จ้างทำของทุกวิธี ให้แต่งตั้ง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • งานจ้างก่อสร้าง • คณะกรรมการตรวจการจ้าง

  19. องค์ประกอบของคณะกรรมการแต่ละคณะ มีดังนี้(แก้ไขโดยระเบียบฯพัสดุ(ฉบับที่ ๗)พ.ศ.๒๕๕๒ใช้ ๑๐ เม.ย.๕๒) • ให้แต่งตั้งจากผู้มีความรู้/ชำนาญ ในงานซื้อ,งานจ้างนั้นเข้าร่วมเป็นกก. • ๑.)ประธานกรรมการ๑ คน ๒.) และ กรรมการอื่น อย่างน้อย ๒ คน • ให้แต่งตั้งจาก • ข้าราชการหรือ/พนักงานราชการ /พ.มหาวิทยาลัย /พนักงานของรัฐ ก็ได้ • โดยให้คำนึงถึงตำแหน่งหน้าที่ และความรับผิดชอบเป็นสำคัญ • ๓.) เพื่อประโยชน์ราชการจะแต่งตั้งกรรมการอื่นเพิ่มได้อีก ไม่เกิน ๒ คน

  20. ข้อห้ามมิให้แต่งตั้งกรรมการซ้ำกันหากเป็นการซื้อ/จ้าง ในครั้งเดียวกัน (ข้อ ๓๕) • คกก.เปิดซองสอบราคา • คกก.พิจารณาผลประกวดราคา • คกก.รับ-เปิดซองประกวดราคา คณะกรรมการทุกคณะ:- • ยกเว้น คกก.รับและเปิดซองประกวดราคา • -ให้แต่งตั้งผู้ชำนาญการ/ผู้ทรงคุณวุฒิ ในเรื่องนั้นๆ เข้าร่วมเป็นกรรมการด้วย • ห้ามแต่งตั้งเป็น คกก.พิจารณาผลประกวดราคา • ห้ามแต่งตั้งเป็น คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

  21. ข้อยกเว้น ไม่ต้องแต่งตั้งในรูปคณะกรรมการ (ข้อ๓๕วรรคท้าย) ๒.งานจัดทำเอง(ข้อ๑๕) -ให้แต่งตั้งผู้ควบคุมรับผิดชอบในการจัดทำเอง -และแต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจการปฏิบัติงาน (เว้นแต่ มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบอยู่แล้ว) ๑.การซื้อ/การจ้าง วงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท -จะแต่งตั้ง ข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำหรือ พ.ราชการ/ พ.มหาวิทยาลัยเพียงคนหนึ่งที่มิใช่ผู้จัดซื้อจัดจ้าง • เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ หรือ งานจ้าง ก็ได้ (หนังสือเวียนกวพ.ว ๑๕๕ ลว.๑ พ.ค.๒๕๕๐ให้แต่งตั้งลูกจ้างประจำ ได้)

  22. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๔๔ แจ้งตามนัยหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๔/ว ๑๗๐ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๔ แจ้งหลักเกณฑ์เรื่อง การพ้นจากการเป็นกรรมการ ที่แต่งตั้งโดยระบุชื่อบุคคล และตำแหน่ง หรือส่วนราชการ เพื่อให้ถือเป็นหลักปฏิบัติ ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ดังนี้

  23. การแต่งตั้งกรรมการที่ต้องการ ความรับผิดชอบตามตำแหน่งที่ระบุไว้ • ให้แต่งตั้งโดยระบุเพียงชื่อตำแหน่ง • ไม่ต้องระบุชื่อตัวบุคคล • ในกรณีนี้ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้น ๆ อาจมอบหมายให้ผู้อื่นมาทำหน้าที่แทนได้ ภายใต้บทบัญญัติว่าด้วยการมอบอำนาจให้รักษาราชการแทน ตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน

  24. ๒. การแต่งตั้งกรรมการที่ต้องการความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ หรือความ เหมาะสม อันเป็นคุณสมบัติเฉพาะของ บุคคล ให้แต่งตั้งโดยระบุชื่อตัวบุคคล • ไม่ต้องระบุตำแหน่ง หรือส่วนราชการต้นสังกัด • ซึ่งในกรณีนี้จะมอบหมายให้ผู้ใด มาทำหน้าที่แทนไม่ได้

  25. ๓.การแต่งตั้งกรรมการที่ต้องการคุณสมบัติเฉพาะของบุคคลและอำนาจหน้าที่ในตำแหน่งหน้าที่ ที่บุคคลดังกล่าวดำรงตำแหน่งอยู่ หรืออำนาจหน้าที่ของหน่วยงานที่บุคคลดังกล่าวปฏิบัติหน้าที่อยู่ ให้แต่งตั้งโดยระบุชื่อตัวบุคคลและระบุตำแหน่งของบุคคลนั้น หรือระบุหน่วยงานที่บุคคลนั้นปฏิบัติหน้าที่อยู่ • ซึ่งจะแต่งตั้งบุคคลอื่นให้มาประชุมแทนไม่ได้ และในกรณีที่บุคคลนั้นพ้นจากตำแหน่งดังกล่าว ให้เป็นที่เข้าใจว่า ต้องพ้นจากความเป็นกรรมการด้วย หรืออาจระบุการพ้นจากตำแหน่งไว้ด้วยก็ได้ ถ้าไม่ประสงค์เช่นนั้น ก็ไม่ควรออกคำสั่งในลักษณะนี้มาแต่แรก

  26. การประชุมลงมติของคณะกรรมการ (ข้อ ๓๖) • วันลงมติ • ประธาน/และกรรมการ ต้องมาประชุมลงมติ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด กรรมการคนใด ที่ไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ -ให้ทำบันทึกความเห็นแย้งไว้ด้วย • การลงมติให้ถือเสียงข้างมาก • ถ้าเท่ากัน ให้ประธานออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงชี้ขาด • ข้อยกเว้น • เฉพาะ คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ให้ถือมติเอกฉันท์

  27. การแต่งตั้งผู้ควบคุมงานก่อสร้าง)(ข้อ ๓๗) • ให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งผู้มีความรู้ /ความชำนาญทางด้านช่าง ในงานนั้น ๆ ไม่ต่ำกว่า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช. เป็นผู้ควบคุมงาน • ข้าราชการ • ลูกจ้างประจำ • จาก • ในสังกัด หรือจากสังกัดอื่นโดยได้รับความยินยอมจากหัวหน้าส่วนราชการของผู้นั้น กรณีจำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษาเป็นผู้ควบคุมงานแทน ให้ถือปฏิบัติตามหมวด ๒ ส่วนที่ ๓ หรือส่วนที่ ๔ แล้วแต่กรณี

  28. การแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลางงานจ้างก่อสร้าง ทุกครั้ง/ทุกวงเงิน ให้แต่งตั้งคณะกรรมการฯเพื่อคำนวณราคาค่าก่อสร้าง/ใช้เปรียบเทียบกับราคาของผู้เสนอราคา(มติครม.๖ ก.พ.๒๕๕๐) • ราคากลาง หมายถึง ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่ละงาน/โครงการ ซึ่งได้จากการประเมิน หรือคำนวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกำหนด • ซึ่งเป็นราคาที่ทางราชการยอมรับได้ ไม่สูงจนผู้ประกอบกอบการได้กำไรมากเกินกว่าที่ควรได้รับ และไม่เป็นราคาที่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะดำเนินการก่อสร้างได้ • ดังนั้น ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการจึงไม่ไช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้างแต่เป็นราคาที่ได้จากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ • ให้ทำบันทึกส่งสตง.หากผลประกวดราคามีราคากลางที่กำหนดไว้สูง/ ต่ำกว่าราคาที่ประกวดราคาได้เกิน ๑๕% ขึ้นไป

  29. งานก่อสร้าง คืออะไร(มติกวพ.ปี๕๒) • งานก่อสร้าง หมายถึง งานก่อสร้างตามหลักทั่วไป ที่มีกม. ระเบียบ/มติครม./หนังสือเวียน ที่อ้างอิงได้ เช่น กวพ.แจ้งเวียนว่า-งานเคลื่อนย้ายอาคาร,งานปรับปรุง ต่อเติมซ่อมแซมอาคารที่จำเป็นต้องมีผู้ควบคุมงานเป็นงานก่อสร้างมติครม. แจ้งว่า- งานอาคาร/ชลประทาน/ทาง/งานดินที่เป็นการขุดลอกสระน้ำ,คู คลอง หนอง บึง เป็นงานก่อสร้าง • หลักพิจารณาว่าอะไรเป็นงานจ้างก่อสร้าง ได้แก่ • สัญญาซื้อขายที่มีงานก่อสร้าง หรือพร้อมติดตั้งโครงสร้างพื้นฐานรวมอยู่ด้วย • ให้พิจารณาว่า หากมีงานก่อสร้างเป็นสาระสำคัญ ซึ่งราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่ติดตั้งถือว่า เป็นงานก่อสร้าง เช่น งานติดตั้งสะพานลอยทางเดินข้ามถนน ก่อสร้างรั้ว

  30. อะไรเป็นงานซื้อ/งานจ้าง/หรือจ้างก่อสร้าง • กรณีมีเนื้องานอยู่ในรายการเดียวกัน • มติ กวพ. ปี ๕๐”“การจะพิจารณาว่าอะไรเป็นงานซื้อหรือจ้างพร้อมติดตั้ง” พิจารณาได้จากเนื้อหาสาระของงานนั้นว่า มีสัดส่วนงานซื้อ หรืองานจ้างมากกว่ากัน • หากมีสัดส่วนในการซื้อพัสดุมากกว่าการจ้างติดตั้ง • พิจารณาได้ว่า การจัดหานั้น เป็นงานซื้อพร้อมติดตั้ง • ปัญหา จ้างก่อสร้างและปรับปรุงอาคารเพื่อใช้เป็นศูนย์ควบคุมระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดCCTV ซึ่งมีเนื้องานน้อยกว่าการจัดหาทั้งหมด นับว่าเป็นงานอันเป็นส่วนประกอบที่จำเป็นในการติดตั้งเพื่อให้สามารถใช้งานในระบบได้ /และมีความจำเป็นต้องใช้คู่สัญญารายเดียว ถือว่าเป็นการซื้อพร้อมติดตั้งได้

  31. แผนผัง/ขั้นตอน กระบวนการ บริหารการจัดซื้อ/จัดจ้าง

  32. ขั้นตอนที่ ๑ ก่อนจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี -ให้จัดทำบันทึกรายงาน ขอซื้อ/จ้าง เพื่อขอความเห็นชอบจากหส.ราชการก่อนทุกครั้ง ซื้อ/จ้างทั่วไป (ต้องมีรายการตามข้อ๒๗) เจ้าหน้าที่พัสดุ ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง(ข้อ๒๘) หัวหน้าส่วนราชการ ๒ เมื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงาน ขอซื้อ/จ้างแล้ว (ข้อ ๒๙) ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง(ข้อ ๓๔) ลงนามประกาศสอบราคา/ประกวดราคา

  33. เมื่อได้รับความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อ/ขอจ้างแล้ว -ให้เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการจัดหาตามวิธีต่างๆ วิธีตกลงราคา(ไม่เกิน๑แสน) (ข้อ ๑๙,๓๙) วิธีสอบราคา (เกิน๑แสน-๒ล้าน) (ข้อ ๒๐,๔๐-๔๓) วิธีประกวดราคา เกิน๒ล้านขึ้นไป (ข้อ ๒๑,๔๔-๕๖) วิธีพิเศษ (เกิน๑ แสนขึ้นไป) (ซื้อข้อ ๒๓,๕๗-จ้างข้อ ๒๔,๕๘) วิธีกรณีพิเศษ ไม่จำกัดวงเงิน (ข้อ ๒๖,๕๙)

  34. ได้ตัวผู้ขาย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทำบันทึกรายงานเสนอขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง(ผ่านหน.จนท.พัสดุ) ๔ ผู้มีอำนาจอนุมัติให้สั่งซื้อ/จ้างได้ตามที่คณะกรรมการเสนอ (ข้อ๖๕,๖๖,๖๗) ๕ บริหารสัญญา/ข้อตกลง (แก้ไข/งด,ลดค่าปรับ,ขยายเวลา (๑๓๙) -บอกเลิกสัญญา ( ๑๓๗-๑๓๘-๑๔๐) -สั่งทิ้งงาน (ข้อ ๑๔๕-๑๔๕ สัตต) ทำสัญญา/บันทึกข้อตกลง ข้อ ๑๓๒,๑๓๓ ๖ ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้างข้อ ๗๑ , ๗๒ ๗ เบิกจ่ายเงิน ๘

  35. ลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินข้อ๑๕๑-๑๕๒ลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินข้อ๑๕๑-๑๕๒ ๙ ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยังหน่วยของผู้ใช้งาน (เบิก-จ่ายพัสดุ) ข้อ ๑๕๓-๑๕๔ ๑๐ การบำรุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยู่ในสภาพที่ดี สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน ๑๑

  36. ๑๒ การตรวจสอบพัสดุประจำปี (ข้อ๑๕๕-๑๕๖) การจำหน่ายพัสดุ ข้อ ๑๕๗-๑๖๑ ๑๓ ก่อนสิ้นเดิอนกันยายนทุกปี -หส.ราชการ-แต่งตั้งคกก. ที่มิไช่จนท.พัสดุตรวจ -ให้เริ่มตรวจวันทำการแรกของเดือนตุลาคม/ ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐วันทำการ นับจากตรวจ พัสดุใดหมดความจำเป็นใช้งาน สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก เสนอหส.ราชการเพื่อสั่งจำหน่าย แลกเปลี่ยน ขาย/ทอดตลาด หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชำรุด /สูญหายให้แต่งตั้งคกก.สอบข้อเท็จจริง แปรสภาพ/ทำลาย โอน

  37. การบริหารจัดการด้าน เงินงบประมาณ ที่ใช้ในการจัดหาพัสดุ

  38. เงินที่นำมาใช้กับการจัดหาพัสดุตามระเบียบนี้(ข้อ๕)เงินที่นำมาใช้กับการจัดหาพัสดุตามระเบียบนี้(ข้อ๕) เงินที่รมต.ว่าการกระทรวงการคลังอนุญาตให้ไม่ต้องนำส่งคลัง/ เช่นเงินรายได้ของสถานศึกษา เงินงบประมาณรายจ่าย เงินช่วยเหลือจากตปท. เงินกู้ ที่กระทรวงการคลังกู้จากตปท. เงินนอกงบประมาณไม่ใช้กับระเบียบนี้

  39. เงินกู้สำหรับโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕(ที่หน่วยงานได้รับจัดสรรโดยตรงตามข้อ ๑๗(๒)) เรื่อง การเบิกจ่ายเงิน(ข้อ ๒๒) ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินของทางราชการโดยอนุโลมและหลักเกณฑ์/วิธีปฏิบัติตามที่กระทรวงการคลังกำหนด การจัดหาพัสดุ (ข้อ ๑๘) ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ (หรือระเบียบฯ ที่หน่วยงานถือปฏิบัติ) และระเบียบฯพัสดุพ.ศ. ๒๕๔๙ ให้เริ่มจัดหาได้เมื่อครม.อนุมัติ โครงการ/และลงนามสัญญาได้เมื่อ สำนักงบประมาณ.จัดสรรเงินให้แล้ว

  40. ถ้าเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรมาใช้จัดหาพัสดุ ไม่เพียงพอ วิธีดำเนินการได้ ดังนี้ ระเบียบบริหารงบประมาณฯ ข้อ ๒๖ กำหนดว่า กรณีไม่อาจจัดหาครุภัณฑ์ หรือรายการสิ่งก่อสร้างนั้น ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม ให้หัวหน้าส่วนราชการ หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ มีอำนาจโอน เปลี่ยนแปลงรายการรายจ่ายได้ โดยมีวิธีปฏิบัติดังนี้ ๓.กรณีที่มีเงินนอกงบประมาณสมทบอยู่แล้ว ให้ใช้เงินนอกงบประมาณไปเพิ่มได้อีกไม่เกิน ๑๐ %ของวงเงินรายการนั้น ๔. ถ้ามีเงินนอกงบประมาณไม่พอ จะใช้เงินงบประมาณไปเพิ่มได้ไม่เกิน ๑๐% ของวงเงินในส่วนที่เป็นเงินงปม. ๑.ให้โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายต่างๆ ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน หรือ ๒. นำเงินนอกงบประมาณ ไปเพิ่มวงเงินรายการนั้นได้ไม่เกิน๑๐%ของวงเงินที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ

  41. เงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร จะจ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้ เมื่อใด? พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๐๒ มาตรา ๒๓ห้ามมิให้ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ จ่ายเงิน หรือ ก่อหนี้ผูกพันตามพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือ พรบ.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จนกว่าจะได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว มาตรา ๒๗ การขอเบิกเงินจากคลังให้กระทำได้แต่เฉพาะภายในปีงบประมาณที่ได้รับ

  42. (ระยะที่ ๓) การ จัดซื้อจัดจ้าง

  43. การเตรียมจัดหาพัสดุในช่วงต้นปีงปม. (ข้อ ๑๓ ) ให้กระทำตั้งแต่เมื่อได้รับทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้แล้ว ๒.ให้เตรียมการจัดหาพัสดุ โดยสามารถเตรียมการในขั้นตอนใดก็ได้ (ออกแบบ/สอบราคา/ประกวดราคาหาผู้ขาย/ผู้รับจ้างไว้แล้ว) พร้อมที่จะลงนามสัญญาได้ทันที เมื่อได้รับอนุมัติทางการเงิน • แต่การดำเนินการนั้น ต้องยัง ไม่มีลักษณะเป็นการผูกนิติสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก • มติกวพ.(ส.ค.๕๐)วิธีปฏิบัติ • ๑. ในช่วงต้นปีงปม.เมื่อได้รับทราบยอดเงินงบประมาณแล้ว(เมื่องบประมาณ ผ่านการอนุมัติจากรัฐสภาหรือได้รับอนุมัติเงินประจำงวดจากสำนักงบประมาณ แล้ว • ๒. เมื่อขอรับจัดสรรและได้รับอนุมัติงบประมาณมาใช้ได้แล้ว

  44. วิธีเตรียมการจัดซื้อหรือจัดจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ จะจัดทำหนังสือไปยัง สำนัก,ศูนย์ /กอง หน่วยงานในสังกัด เพื่อ สำรวจ/รวบรวมจำนวนพัสดุที่ต้องการ แยกกลุ่ม วัสดุ/ ครุภัณฑ์ ประเภทเดียวกัน กำหนดคุณลักษณะเฉพาะสิ่งของ/จ้าง(Specification)/กำหนดเวลาส่งมอบพัสดุให้สอดคล้องกับการใช้งานตามแผน งานซื้อ-สำรวจราคาวัสดุ/ราคามาตรฐานครุภัณฑ์ /งานจ้างบริการจากฐานข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้าง งานจ้างก่อสร้าง -ออกแบบ -และแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง

  45. การจำแนกพัสดุที่จะซื้อ /หรือจะจ้าง ““อะไรเป็นพัสดุ ที่ต้องจัดหาตามระเบียบฯนี้ อะไรที่ต้องจัดหาด้วยวิธีซื้อ /วิธีจ้าง” (ระเบียบข้อ ๕) การซื้อ หมายความว่า ซื้อพัสดุ ทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการที่เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ การจ้าง หมายความว่า การจ้างทำของ/ การรับขน/การจ้างเหมาบริการ การจ้างก่อสร้าง

  46. การประกันภัยทุกชนิด ““ มิไช่พัสดุ” ไม่ต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ • (คำวินิจฉัยกวพ. ปี๒๕๕๐,๒๕๕๒) • การประกันภัยรถยนต์/ประกันชีวิต/ประกันวินาศภัยมิใช่การจัดหาพัสดุจึงไม่อยู่ในบังคับที่ต้อง จัดหา ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม • แต่เป็นการดำเนินการตามพรบ.ประกันภัยประเภทนั้น ๆ จึงอยู่ในดุลพินิจของส่วนราชการที่จะดำเนินการจัดหาได้ตามความเหมาะสม

  47. การใช้บริการInternetต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุนี้การใช้บริการInternetต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุนี้ • การเช่าใช้บริการระบบวงจรสื่อสารความเร็วสูง • ด่วนที่สุด ที่กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๑๙๘๗๘ ลว.๑๔ ส.ค.๒๕๕๐ • แม้สำนักงบประมาณจะจัดสรรให้เบิกจ่ายจากงบดำเนินการ ในลักษณะค่าสาธารณูปโภค ก็ตาม • แต่ปัจจุบัน มิได้จำกัดแต่เฉพาะรัฐวิสาหกิจเท่านั้นที่ให้บริการ แต่ยังมีบริษัทเอกชนที่ให้บริการหลายราย ซึ่งมีอัตราแตกต่างกัน และสามารถลดราคาค่าติดตั้งและค่าธรรมเนียมได้ • ดังนั้น เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ และก่อให้เกิดความเป็นธรรม จึงเห็นว่า การเช่าวงจรสื่อสารลักษณะดังกล่าว จะต้องปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  48. กวพ.มีหนังสือแจ้งเวียนรายการที่ได้รับยกเว้นกวพ.มีหนังสือแจ้งเวียนรายการที่ได้รับยกเว้น ไม่ต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ • หนังสือแจ้งเวียนของคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ตามหนังสือที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/ว ๑๙๓ ลว.๘ มิถุนายน ๒๕๕๒ • อนุมัติให้การจัดหาอาหาร /อาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าเช่าที่พัก ของส่วนราชการต่าง ๆ • ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และกรณีอื่น ๆ ตามที่กระทรวงการคลังอนุมัติให้เบิกจ่ายได้ • โดยไม่ต้องถือปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  49. วิธีซื้อ/จ้าง

  50. การซื้อ / การจ้าง มี ๖ วิธี ขึ้นอยู่กับวงเงิน และเงื่อนไขของแต่ละวิธี ข้อ ๑๙ วิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท ข้อ ๒๐ วิธีสอบราคา วงเงินเกิน ๑ แสน-๒ ล้านบาท ข้อ ๒๑ วิธีประกวดราคาวงเงินเกิน ๒ล้านบาทขึ้นไป ข้อ ๒๓ ชื้อโดยวิธีพิเศษ วงเงินเกิน๑ แสนบาทขึ้นไป ข้อ ๒๔ จ้างโดยวิธีพิเศษ - แต่มีเงื่อนไข ข้อ ๒๖ วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำหนดวงเงิน ข้อ ๑๘(๖) วิธีประมูลทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ตามประกาศ- กระทรวงการคลัง วงเงินเกิน ๒ล้านขึ้นไป (ระเบียบฯ 49วิธีทางอิเล็กทรอนิคส์ วงเงินตั้งแต่ ๒ ล้านขึ้นไป )

More Related