340 likes | 458 Views
นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล. สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ประเด็นการบรรยาย. 1. ที่มา / สาเหตุ 2. กลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย 3. ปัญหา / ผลกระทบ 4. ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิ
E N D
นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ประเด็นการบรรยาย 1. ที่มา / สาเหตุ 2. กลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย 3. ปัญหา / ผลกระทบ 4. ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิ ของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 2548) 5. การดำเนินการในระยะต่อไป
ลาว 1,810 กม. พม่า 2,401 กม. ช่องทาง/ทางบก700 กว่าช่องทาง กัมพูชา 798 กม. พรมแดนทางบก5,656กม. อาณาเขตทางทะเล 2,630 กม. ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ มาเลเซีย 647 กม.
กลุ่มที่อพยพมาจากนอกประเทศกลุ่มที่อพยพมาจากนอกประเทศ เป็นฝ่ายตรงกันข้ามกับ รัฐบาลของประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศต้นทางไม่รับรอง สถานะผลักดันออก กดขี่ การหนีภัยสงคราม การแสวงหาโอกาสชีวิตที่ ดีกว่าเนื่องจากความต่าง ทางเศรษฐกิจ ความขัดแย้ง ทางการเมือง สาเหตุการอพยพ ประชาชนบริเวณนั้นเป็นเครือญาติ และเชื้อชาติเดียวกัน จึงอพยพไป มาหาสู่กัน
ปัญหาการอพยพและผลกระทบต่อปัญหาการอพยพและผลกระทบต่อ ความมั่นคงของชาติ การเรียกร้องขอมีสถานะ และสิทธิต่าง ๆ โรคติดต่อร้ายแรง ภาระค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ความสงบเรียบร้อย ความหวาดระแวง ของประเทศเพื่อนบ้าน กรณีปัญหากลุ่มต่อต้าน ผลกระทบด้านความมั่นคง ความขัดแย้งกับคนไทย การตั้งรกราก สายลับ/การจารกรรม ปัญหาการล่วงละเมิด ภาพลักษณ์ทางลบต่อ ประชาคมโลก
แนวคิดการแก้ปัญหาที่ผ่านมาแนวคิดการแก้ปัญหาที่ผ่านมา • ดำเนินการใน 3 ส่วน(เชิงรับ) • สกัดกั้นผลักดันปราบปราม จับกุม ส่งกลับตามกฎหมาย • ให้อยู่ชั่วคราวเพื่อรอการส่งกลับเนื่องจากเหตุผลด้านมนุษยธรรม • รับรองสถานะให้อยู่อาศัยอย่างถูกต้อง/ถาวร ด้วยการทำประโยชน์/ผสมกลมกลืน
บทบาทของ สมช. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • - มท. (กำหนดสถานะ / ควบคุม • การอยู่อาศัย) • - ฝ่ายทหาร (สกัดกั้น) • - ตำรวจ (จับกุม / ส่งกลับ) • - ศธ. สธ. รง. พม. ยธ. (บริการด้าน • มนุษยธรรม / สิทธิขั้นพื้นฐาน) • สมช. • - กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแนวทางดำเนินการ โดยเฉพาะต่อกลุ่มที่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านความมั่นคง • - กำหนดองค์กร กลไก บริหารจัดการ อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล ๙
ผู้หลบหนีเข้าเมืองในภาพรวม (ประมาณ 2.5 ล้านคนเศษ) 1 2 4 3 กลุ่มที่อาศัยอยู่มานาน ครม. มีมติรับรองสถานะให้อยู่อาศัยอย่างถาวร กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราวเพื่อรอกระบวนการแก้ไขปัญหา กลุ่มหลบหนีเข้าเมืองอื่น ๆ กรณีทั่วไป (overstay ไม่มาต่อวีซ่า) กลุ่มที่ทางราชการมีนโยบายดูแลเป็น การเฉพาะ ได้รับการสำรวจช่วงปี 19 - 42/ มีบัตรสี , บัตรประจำตัว ผู้ไม่มีสัญชาติไทย แรงงานต่างด้าวหลบหนี เข้าเมือง 3 สัญชาติใน ระบบผ่อนผัน ชกน./ กลุ่มชาติพันธุ์ 14 กลุ่ม ได้รับการสำรวจช่วงปี 49 - 51/ มีบัตรประจำตัวผู้ไม่มี สถานะทางทะเบียน แรงงานที่ไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ / ประเทศต้นทาง ไม่รับกลับ ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า , ม้งลาวอพยพ จ.เพชรบูรณ์ , โรฮิงยา , เกาหลีเหนือ ยุทธศาสตร์การบริหาร แรงงานต่างด้าวทั้งระบบ (มติ ครม. 2 มี.ค. 47) กบร./รง. เป็นฝ่ายเลขานุการ ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหา สถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 48) นอส./สมช. เป็นฝ่ายเลขานุการ ปราบปรามจับกุมตาม กม. ว่าด้วยคนเข้าเมืองในระบบปกติ นโยบายดูแลเป็นการเฉพาะ สภา มช. , สมช.
ชกน. 14 กลุ่มที่อาศัยอยู่มานาน และ ครม. มีมติรับรองสถานะให้อยู่ถาวร
กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว(ได้รับการสำรวจช่วงปี 2519-2542)
กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว(ได้รับการสำรวจช่วงปี 2549-2551)
แนวทางการแก้ปัญหาในปัจจุบันแนวทางการแก้ปัญหาในปัจจุบัน ชกน. / กลุ่มชาติพันธุ์ที่ได้รับการรับรองสถานะให้อาศัยอยู่ถาวร ชกน. /กลุ่มชาติพันธุ์ที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 2548) นอส. / สมช. เป็นฝ่ายเลขานุการ กลุ่มคนไร้สถานะอื่น ๆ ที่ไม่สามารถกลับประเทศต้นทาง(รวมถึงแรงงานต่างด้าวที่ไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ /กลับ ประเทศต้นทางไม่ได้)
ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 2548) ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะ ยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิง สร้างสรรค์เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะมท. เจ้าภาพหลัก สัญชาติไทย สถานะ บุคคลต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย ผ่อนผันให้อาศัยอยู่ชั่วคราว • สำรวจ จัดทำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตน • ปรับปรุงหลักเกณฑ์ / เงื่อนไขการพิจารณา / ลดขั้นตอน • กำหนดกรอบการพิจารณากำหนดสถานะ กลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่ม • ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพิจารณากำหนดสถานะ 6 กลุ่ม ลูกได้สัญชาติไทย แปลงสัญชาติ มีเชื้อสายไทย กลุ่ม 1: ผู้ที่อพยพเข้ามาในประเทศกลับประเทศต้นทางไม่ได้ / มีชื่อในระบบทะเบียน อยู่นานอย่างน้อย 10 ปี นับถึงวันที่ ครม. มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ ฯ (เข้ามาก่อน 18ม.ค. 38) บุคคลต่างด้าวเข้าเมือง โดยชอบด้วย กม. ไม่มีเชื้อสายไทย เกิดและอาศัยในไทย / จบการศึกษาะดับ อุดมศึกษาในไทย ระดับอุดมศึกษา กลุ่ม 2: เด็ก / บุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษา ใช้หลักเกณฑ์กลุ่ม 1 ระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา ได้สัญชาติไทย ขาดบุพการี / ชื่อในทะเบียน / อยู่นานอย่างน้อย 10 ปี นับถึงวันที่ ครม. มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ ฯ (อยู่มาก่อน 18 ม.ค. 38) กลุ่ม 3: บุคคลไร้รากเหง้า ขาดบุพการี / เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคล สัญชาติไทย
กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพิจารณากำหนดสถานะ 6 กลุ่ม ได้สัญชาติไทยเป็นรายกรณี กลุ่ม 4: ผู้ทำคุณประโยชน์ ให้อยู่ชั่วคราวและกำหนดสถานะโดยใช้กระบวนการพิจารณากลุ่ม 1 - 4 กลุ่ม 5: แรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนแต่ไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ / กลับประเทศต้นทางไม่ได้ คณะอนุกรรมการฯพิจารณา กำหนดสถานะไม่ได้ ให้อยู่ชั่วคราว กลุ่ม 6: คนต่างด้าวอื่น ๆ ที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ / กลับประเทศต้นทางไม่ได้ ส่งคณะอนุกรรมการฯ พิจารณา
ยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐานยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐาน มท. สธ. ศธ. รง. พม. ยธ. กรณียังไม่มีสถานะถูกต้อง แต่มีชื่อในระบบทะเบียน / อยู่ระหว่างการพิจารณา ให้สิทธิขั้นพื้นฐาน หลักฐานรับรองการเกิด / การศึกษา สาธารณสุข / การทำงาน ให้สิทธิตาม หลักมนุษยธรรม กรณีไม่มีชื่อใน ระบบทะเบียน สำรวจและจัดทำทะเบียน ตรวจสอบภูมิลำเนา / ส่งกลับไม่ได้ ให้เข้าสู่กระบวนการ กำหนดสถานะ
ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิงสร้างสรรค์เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิงสร้างสรรค์เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ กห.กต.สตช. มท. • ประสานร่วมมือประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาคน / ชุมชน • ชายแดน • ให้องค์การระหว่างประเทศช่วยเหลือประชาชนในประเทศ ต้นทาง • เข้มงวดการป้องกัน / สกัดกั้น • เข้มข้นการปฏิบัติ / ควบคุมทางทะเบียน / การแจ้งเกิด/ • ย้ายที่อยู่
สมช. เป็นหน่วยงานหลักในการอำนวยการ ประสานงาน และ ติดตามผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลัก มท. / รง. / กต. / สตช. / กห. / ศธ. / สธ. / ยธ. / พม. กำหนดแผนงาน / โครงการ / มาตรการเร่งด่วน, มาตรการระยะ ยาว มี นอส. / คณะอนุกรรมการ , คณะทำงาน ช่วย นอส. ปฏิบัติงาน เป็นกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ฯ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ สมช.
คณะกรรมการนโยบายและอำนวยการจัดการคณะกรรมการนโยบายและอำนวยการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (นอส.) รอง นรม. ที่ได้รับมอบหมาย ประธาน /รมว.มท. รองประธาน เลขาธิการ สมช. เลขานุการ (ผช.3คน) องค์ประกอบ ปลัด กห. กต. พม. มท. ยธ. รง. ศธ. สธ. / ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ. ผบ.ทร. ผบ.ตร. ผอ.สขช. ลธ.กอ.รมน. / อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ / ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน อำนาจหน้าที่หลัก เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิต่อ ครม. คณะอนุกรรมการอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ฯ คณะอนุกรรมการกำกับดูแลการสำรวจเพื่อ จัดทำเอกสารแสดงตน และเร่งรัดให้สถานะ ตามยุทธศาสตร์ ฯ อธิบดีกรมการปกครอง ประธาน เลขาธิการ สมช.ประธาน /รองเลขาธิการ สมช. รองประธาน ผอ.สภน.สมช. เลขานุการ (ผช.2คน) ผอ.สน.มน.ปค. เลขานุการ (ผช.2คน) องค์ประกอบผู้แทน กห. กต. พม. มท. ยธ. รง. ศธ. สธ. สขช. บก.ทท. ทบ. ทร. สตช. กอ.รมน. กรมการปกครอง / ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน อำนาจหน้าที่หลักอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการแปลง ยุทธศาสตร์ ฯ ไปสู่การปฏิบัติและกลั่นกรองแผนงาน/โครงการ มาตรการ และหลักเกณฑ์การกำหนดสถานะบุคคลก่อนเสนอ นอส. องค์ประกอบผู้แทน พม. มท. ยธ. รง. ศธ. สธ. สขช. สนง.คกก. สิทธิมนุษยชน ฯ สมช. บก.ทท. ทบ. ทภ.1-4 สตช. กอ.รมน. สน.บท. / ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน อำนาจหน้าที่หลักอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และ ดำเนินการสำรวจจัดทำเอกสารแสดงตน และเร่งรัดการกำหนด สถานะบุคคล
ผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิ • สำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตนให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ที่มีปัญหาสถานะ • ปรับปรุงฐานข้อมูลกลุ่มที่จดทะเบียนไว้เดิมเป้าหมาย 396,724 คน (มาแสดงตัว 196,606คน) เพื่อเร่งรัดกำหนดสถานะ • สำรวจกลุ่มที่ตกสำรวจในอดีต - กลุ่มอยู่มานาน127,300 คน - กลุ่มเด็กนักเรียน 64,893 คน - กลุ่มคนไร้รากเหง้า 2,977คน - กลุ่มคนทำประโยชน์ 23 คน รวม 1.9แสนคน อยู่ระหว่างการเร่งรัดกำหนดสถานะตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ฯ
ผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิ • การให้สิทธิ • การศึกษา (มติ ครม. 5 ก.ค. 2548) - ทุกคนที่อยู่ในประเทศไทยมีสิทธิเข้ารับการศึกษา - ยกเว้นผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าให้เรียนอยู่ในพื้นที่ พักพิงชั่วคราว • การทำงาน พ.ร.บ. การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 เปิดโอกาสให้ทำงานได้ • สาธารณสุข ดูแลตามหลักมนุษยธรรม ยกเว้นกลุ่มที่จดทะเบียนแล้ว อยู่ระหว่างการจัดระบบให้ชัดเจนเป็นการเฉพาะ
ปัญหาอุปสรรคการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯปัญหาอุปสรรคการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ • กลุ่มเป้าหมายตกสำรวจ • กลุ่มที่มิใช่เป้าหมายมาขอรับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติ • และบัตร เพื่อเข้ามาแสวงประโยชน์ในประเทศไทย • กลุ่มเป้าหมายให้ข้อมูลเป็นเท็จเกิดข้อจำกัดในการพิสูจน์ทราบ • ตัวบุคคล ส่งผลต่อการสำรวจและพิจารณากำหนดสถานะ • ปัญหาการทุจริตของเจ้าหน้าที่ • กลุ่มเป้าหมายไม่มาเข้ารับการสำรวจ และยื่นคำร้องเพื่อขอรับสถานะ • จนท.ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ / ไม่กล้าตัดสินใจ • รับรองสถานะ • ผู้มีอำนาจไม่อนุมัติการให้สถานะ
การขยายกรอบระยะเวลาการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯการขยายกรอบระยะเวลาการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ • เดิมยุทธศาสตร์ ฯ กำหนดกรอบระยะเวลาการดำเนินการไว้ 2 ปี (18 ม.ค. 2548 – • 17 ม.ค. 2550) • มีปัญหาอุปสรรค / ข้อจำกัดโดยเฉพาะเรื่องการสำรวจ ทำให้มีการขอขยายกรอบ • ระยะเวลาครั้งแรก (มติ ครม. 20 ก.พ. 2550) • ครั้งล่าสุด มติ ครม. 3 พ.ย. 2552 ขยาย 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ ครม. เห็นชอบ • (3 พ.ย. 2552 – 2 พ.ย. 2554) เพื่อดำเนินการกิจกรรม 4 เรื่อง คือ • 1. การสำรวจกลุ่มเป้าหมายที่ตกสำรวจ • 2. การเร่งรัดกำหนดสถานะบุคคล • 3. พิจารณาให้สิทธิแก่กลุ่มที่อยู่ระหว่างกระบวนการแก้ปัญหา • 4. สกัดกั้นป้องการเข้ามาใหม่
นโยบายต่อบุตรของแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองนโยบายต่อบุตรของแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) • มติ ครม. 3พ.ย. 2552 • ให้กรมการปกครองรับรายงานตัวเพื่อจัดทำทะเบียนประวัติให้แก่บุตร (อายุไม่เกิน 15ปี) ของแรงงานต่างด้าว ฯ ที่จดทะเบียนในระบบผ่อนผันตามมติ ครม. เมื่อ 26พ.ค. 2552 และ 28ก.ค. 2552 • ผ่อนผันให้บุตรดังกล่าวอยู่ชั่วคราวเท่าที่บิดาและมารดาได้รับอนุญาตให้ทำงานและผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว
แนวทางดำเนินการในระยะต่อไปแนวทางดำเนินการในระยะต่อไป • มติ สภา มช. เมื่อ 27 ธ.ค. 2550 เห็นควรให้มีการทบทวน เพื่อนำไปสู่การจัดทำยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ • มติ สภา มช. เมื่อ 17 ส.ค. 2552 เห็นชอบหลักการกรอบความคิดการจัดทำยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ - ความสมดุลระหว่างการรักษาผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงกับความจำเป็นทางเศรษฐกิจ และหลักสิทธิมนุษยชน - การบริหารจัดการเชิงบูรณาการ / เอกภาพ - เน้นการแก้ปัญหาเชิงรุก - ป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ - เชื่อมโยงฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • สมช. อยู่ระหว่างดำเนินการ
กรณีศึกษา : ปัญหาสถานะบุคคลของ ด.ช.หม่อง ฯ • เกิดที่ อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่ เมื่อ 2 พ.ค. 40 • เป็นบุตรผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มแรงงาน ต่างด้าวที่เดินทางมาจากพม่า สถานะที่ 2 ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหา สถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 48) สถานะที่ 1 ยุทธศาสตร์การบริหารแรงงานต่างด้าว ทั้งระบบ / แนวทางดำเนินการ (มติ ครม. 2 มี.ค. 47 และ 27 เม.ย. 47) • เป็นผู้ได้รับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติเป็นบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนกลุ่มเด็ก และบุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษาของประเทศไทย (กลุ่มเป้าหมายที่ 2 ตามยุทธศาสตร์ ฯ) เมื่อปี 48 • มีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 0 • ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราวระหว่างรอ การแก้ปัญหาสถานะ (มติ ครม. 10 ม.ค. 49) • ปัจจุบันมีประกาศ มท. กำหนดพื้นที่อยู่อาศัยและมาตรการควบคุม • เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียนเป็นผู้ติดตาม (บุตร) แรงงานต่างด้าวที่ได้รับการจดทะเบียนผ่อนผันให้อยู่อาศัยและทำงานเป็นการชั่วคราวตั้งแต่ปี 47 • มีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 00 • ทั้งครอบครัวได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว เพื่อรอการส่งกลับจนถึง 28 ก.พ. 53
ข้อพิจารณาและข้อหารือของกรมการปกครองข้อพิจารณาและข้อหารือของกรมการปกครอง ประเด็นการดำเนินโครงการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลบนพื้นที่สูงและชุมชนบนพื้นที่สูง (โครงการมิยาซาว่า) เมื่อปี 42 • มิได้ดำเนินการกับ ด.ช.หม่อง และครอบครัว • ถ้าได้รับการสำรวจ จะเป็นกลุ่มเป้าหมายภายใต้ยุทธศาสตร์ การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล • ลงรายการสัญชาติว่าเป็นพม่า (เป็นการบันทึกตามที่ได้รับแจ้ง) • จะเป็นพม่าจริงหรือไม่ คงต้องใช้กระบวนการพิสูจน์สัญชาติกับประเทศต้นทาง ประเด็นการบันทึกในรายการทะเบียนประวัติ ด.ช.หม่อง และครอบครัว • กำหนดให้มีการเร่งรัดการกำหนดสถานะแก่กลุ่มเป้าหมายเด็กและบุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษาของประเทศไทย แต่ไม่มีสถานะที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย • กรมการปกครองเห็นว่า เป็นข้อความที่มีความหมายคลุมเครือ ประเด็นการกำหนดสถานะตามยุทธศาสตร์ การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล • กฎหมายกำหนดให้ต้องจำหน่ายรายการทะเบียนที่ไม่ถูกต้องออก และให้เหลือรายการเดียว • นำมาสู่ข้อหารือว่าจะต้องคงรายการใดและจำหน่ายรายการใด ประเด็นสถานะ ด.ช.หม่อง กับการดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร ประเด็นเด็กที่มีปัญหาสถานะเช่นเดียวกับ กรณี ด.ช.หม่อง • น่าจะมีอยู่ในระบบการทะเบียนราษฎรอีกจำนวนหนึ่ง • ควรจะได้รับการจัดทำทะเบียนประวัติในสถานะใด
สรุปผลการประชุมส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเมื่อ 5 ต.ค. 2552 • บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ มิได้เข้ารับการสำรวจภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลทั้งที่มีโอกาส บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ จดทะเบียนเป็นแรงงานต่างด้าวในระบบผ่อนผันต่อเนื่องตั้งแต่ปี 47 • การที่ ด.ช.หม่อง ฯ ได้รับการสำรวจภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลกลุ่มเด็กนักเรียนเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในทางปฏิบัติ ด.ช.หม่อง ฯ มีสถานะเป็นบุตรแรงงาน ต่างด้าวในระบบผ่อนผันภายใต้ยุทธศาสตร์การบริหารแรงงานต่างด้าวทั้งระบบ • หากไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ อาจนำครอบครัว ด.ช.หม่อง ฯ เข้าสู่กระบวนการแก้ปัญหาตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ ควรเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติให้เสร็จสิ้นก่อน ซึ่งจะมีผลเชื่อมโยงกับสถานะของบุตร
สรุปผลการประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแลและติดตามประเมินผลตามยุทธศาสตร์ ฯ เมื่อ 9 พ.ย. 2552 1 2 กรณี ด.ช.หม่อง ฯ และกลุ่มเด็กอื่น ๆ ที่มีลักษณะเงื่อนไขเดียวกัน กรณีบุตรแรงงานต่างด้าวอื่น ๆ ที่จดทะเบียนและ มี 2 สถานะ ยืนยันสถานะปัจจุบันคือบุตรแรงงานต่างด้าวในระบบผ่อนผัน หากบิดาและมารดามิได้มา จดทะเบียน / ต่ออายุแรงงานต่างด้าวในระบบผ่อนผัน รอบิดาและมารดาเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติ บุตรจะมีสถานะตามกฎกระทรวงภายใต้ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มท. อยู่ระหว่าง พิจารณา
ข้อพิจารณาของฝ่ายเลขานุการข้อพิจารณาของฝ่ายเลขานุการ • ปัญหาสถานะของ ด.ช.หม่อง ฯ สะท้อนถึงความไม่สอดรับระหว่างข้อ • กฎหมายและแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชน • บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ รวมถึงแรงงานต่างด้าวอื่น ๆ ที่มีลักษณะ • เดียวกันควรต้องเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติให้เสร็จสิ้นก่อน กรณีไม่ • ผ่านอาจนำเข้าสู่การแก้ปัญหาตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและ • สิทธิของบุคคล • ความสามารถในการแข่งขันเครื่องบินกระดาษพับของ ด.ช.หม่อง ฯ อาจ • เข้าข่ายผู้มีคุณสมบัติทำคุณประโยชน์ให้แก่ประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์ ฯ • ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ที่จะพิจารณาในโอกาสต่อไป
ประเด็นพิจารณาของที่ประชุมประเด็นพิจารณาของที่ประชุม • การยืนยันสถานะบุคคลของ ด.ช.หม่อง ฯ และกลุ่มเด็ก อื่น ๆ ที่มีลักษณะและเงื่อนไขเช่นเดียวกันว่าเป็นบุตรแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนในระบบผ่อนผัน • สถานะของบุตรแรงงานต่างด้าวอื่น ๆ ที่จดทะเบียนเป็นกลุ่มเป้าหมายตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล แต่บิดาและมารดาไม่ได้จดทะเบียนหรือต่ออายุในระบบผ่อนผัน