1 / 39

การรับจดทะเบียนวิสาหกิจและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน

การรับจดทะเบียนวิสาหกิจและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน. สำนักส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ส่วนทะเบียนและข้อมูลวิสาหกิจชุมชน โทร. 0-2940-6127. ความเป็นมาของ พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. ปัญหา 2 ประการ ของ ชุมชนที่มีการรวมตัวกันประกอบธุรกิจในระดับรากหญ้า.

Download Presentation

การรับจดทะเบียนวิสาหกิจและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรับจดทะเบียนวิสาหกิจและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนการรับจดทะเบียนวิสาหกิจและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน สำนักส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ส่วนทะเบียนและข้อมูลวิสาหกิจชุมชน โทร. 0-2940-6127

  2. ความเป็นมาของ พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ปัญหา 2 ประการ ของ ชุมชนที่มีการรวมตัวกันประกอบธุรกิจในระดับรากหญ้า 1. ไม่เป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนอื่น ๆ เนื่องจากไม่มีกฎหมายรองรับ 2. การสนับสนุนจากภาครัฐไม่ตรงกับความต้องการที่แท้จริง

  3. ดังนั้น จึงมีการออกกฎหมาย “ พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 ” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 122 ตอนที่ 6 ก วันที่ 18 มกราคม 2548 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2548

  4. วิสาหกิจชุมชน คืออะไร ความหมายตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ในมาตรา 3 หมายความว่า “ กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินคา การใหบริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตรวมกัน และรวมตัวกันประกอบกิจการดังกลาว ไมวาจะเปนนิติบุคคล ในรูปแบบใดหรือไมเปนนิติบุคคล เพื่อสรางรายได และ เพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหวางชุมชน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ”

  5. เครือขายวิสาหกิจชุมชน คืออะไร ความหมายตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ในมาตรา 3 หมายความว่า “ คณะบุคคลที่รวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงคในการจัดทำ กิจกรรมอยางหนึ่งอยางใด เพื่อประโยชนในการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในเครือขาย ”

  6. ทำไมต้องจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯทำไมต้องจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ 1. เพื่อให้เกิดการรวมตัวของคนในชุมชน ในการประกอบกิจการของ ชุมชนในรูปแบบวิสาหกิจชุมชนได้มีความมั่นคง นั่นคือ ได้รับการรับรองตามกฎหมาย 2. เพื่อเป็นการจัดการ จัดระเบียบให้เกิดลำดับก่อน - หลัง และ รัฐสามารถทราบข้อมูลความต้องการของวิสาหกิจชุมชน และเครือข่ายฯ รวมทั้งจัดลำดับความต้องการของชุมชน เพื่อให้มีการส่งเสริม และสนับสนุนตามความต้องการที่แท้จริง

  7. ประโยชน์ของการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯประโยชน์ของการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ 1. เกิดการรวมตัวของ คนในชุมชน ในการประกอบกิจการของ ชุมชนเป็นวิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย “ ที่ได้รับการรับรองสถานภาพตามกฎหมาย ” 2. มีสิทธิในการขอรับการส่งเสริมหรือสนับสนุน ตามความต้องการที่แท้จริง (พ.ร.บ.ฯ มาตรา 25)

  8. ประโยชน์ของการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ(ต่อ)ประโยชน์ของการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ(ต่อ) 3. มีสิทธิในการได้รับการส่งเสริมหรือสนับสนุน การพัฒนากิจการ ตามมาตรการที่คณะกรรมการ จัดให้มี ดังนี้ 3.1 วิสาหกิจชุมชนระดับปฐมภูมิ ได้มีการประกอบการอย่างครบวงจร (พ.ร.บ.ฯ มาตรา 26) 3.2 วิสาหกิจชุมชนที่มีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ มีการพัฒนาให้สูงขึ้น (พ.ร.บ.ฯ มาตรา 27) 3.3 วิสาหกิจชุมชนประสงค์จะรวมตัวจัดตั้งเครือข่ายหรือ ดำเนินการเป็นองค์กรธุรกิจใดๆ (พ.ร.บ.ฯ มาตรา 28)

  9. ประโยชน์ของการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ(ต่อ)ประโยชน์ของการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ(ต่อ) 3.4 การพัฒนามาตราฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์ (พ.ร.บ.ฯ มาตรา 29) 3.5 การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ แหล่งทุน การจัดฝึกอบรม หรือการถ่ายทอดความรู้ รวมทั้งแก้ไข กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน (พ.ร.บ.ฯ มาตรา 30) 4. นำไปสู่ ระบบเศรษฐกิจชุมชนที่มีความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ พร้อมที่จะพัฒนาสำหรับการแข่งขันทางการค้าในอนาคต

  10. หน่วยงานรับจดทะเบียน การรับจดทะเบียนและเพิกถอน/ยกเลิกทะเบียน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน เป็นบทบาทหน้าที่ของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่จะต้องดำเนินการตามที่พระราชบัญญัติส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 กำหนดไว้ในมาตราที่ 6 และ 9

  11. นายทะเบียน เกษตรอำเภอ เกษตรกิ่งอำเภอ หรือผู้รักษาการแทนเกษตรอำเภอ ในกรณีที่ไม่มีเกษตรอำเภอและ ให้หมายความรวมถึงเกษตรอำเภอ เขตในเขตกรุงเทพมหานคร และหากเขตใดไม่มีเกษตรอำเภอเขต ให้ถือเอาเกษตรอำเภอเขตใกล้เคียงเป็นนายทะเบียน

  12. ผู้มารับจดทะเบียน 1. มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ของประกาศ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกำหนด 2. ตามความสมัครใจ และความพร้อมของผู้มาจดทะเบียน 3.ไม่มีการกำหนดเป้าหมาย(จำนวน)ของผู้มาจดทะเบียน

  13. สถานที่ จดทะเบียน: 1. ศูนย์บริการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ที่วิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ นั้นตั้งอยู่ หรือ ณ ศูนย์บริการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ใกล้เคียงในอำเภอ/กิ่งอำเภอเดียวกัน กรณีที่ตำบลนั้นไม่มีศูนย์ฯ 2. สำนักงานรับจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน นั่นคือ สำนักงานเกษตรอำเภอ/กิ่งอำเภอ/เขต กทม. ที่วิสาหกิจชุมชน/เครือข่ายฯ นั้นตั้งอยู่

  14. ระยะเวลาในการรับจดทะเบียน:ระยะเวลาในการรับจดทะเบียน: ตาม วัน เวลาราชการ ตลอดปี

  15. คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ในการรับจดทะเบียนคุณสมบัติและหลักเกณฑ์ในการรับจดทะเบียน เป็นไปตาม 1.พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 (มาตรา 5,6,7,8 และ 9) 2.ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนว่าด้วยการรับจดทะเบียน และเพิกถอนทะเบียนวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. …….. ประกอบด้วย 6 หมวด หมวด 1 : การยื่นคำขอจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน หมวด 2 : การจดทะเบียน หมวด 3 : เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน

  16. คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ในการรับจดทะเบียน(ต่อ)คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ในการรับจดทะเบียน(ต่อ) หมวด 4 : การอุทธรณ์ไม่รับจดทะเบียน หมวด 5 : การเพิกถอนหรือยกเลิกทะเบียนวิสาหกิจชุมชน หมวด 6 : การอุทธรณ์ การเพิกถอนหรือยกเลิกทะเบียนวิสาหกิจชุมชน 3. ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เรื่องคุณสมบัติ และหลักเกณฑ์การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน 4. ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เรื่องคุณสมบัติ และหลักเกณฑ์การจัดตั้งเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน

  17. คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนคุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน 1.ชื่อวิสาหกิจชุมชนที่ประสงค์จะจัดตั้ง โดยมีคำว่า “ วิสาหกิจชุมชน” อยู่หน้าชื่อกิจการที่ประสงค์จะจัดตั้ง 2.ชื่อและที่ตั้งของวิสาหกิจชุมชน 3.ชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทนวิสาหกิจชุมชน 4.ชื่อและที่อยู่ของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน

  18. คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน(ต่อ)คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน(ต่อ) 5. กิจการที่วิสาหกิจชุมชนประสงค์จะดำเนินการ มีลักษณะดังนี้ 5.1 ) ดำเนินการโดยคณะบุคคลหรือนิติบุคคล ที่มีสมาชิก ตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป ซึ่งมีความผูกพัน มีความสัมพันธ์แบบ พี่น้อง มีวิถีชีวิตร่วมกัน เป็นวิถีชีวิตที่มีกรอบแนวปฏิบัติ ที่ชัดเจน 5.2 ) เป็นกิจการของชุมชนเกี่ยวกับผลิตสินค้า การให้บริการ หรือกิจการอื่น

  19. คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน(ต่อ)คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน(ต่อ) 5.3) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรายได้ และเพื่อการพึ่งพาตนเอง ของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน 6. มีแผนประกอบการของวิสาหกิจชุมชน

  20. คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนคุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 1.ชื่อเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนที่ประสงค์จะจัดตั้ง โดยมีคำว่า “ เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน” อยู่หน้าชื่อของกิจการที่ประสงค์ จะจัดตั้ง 2.คณะบุคคลที่รวมตัวกันตั้งแต่ 15 คน หรือ วิสาหกิจชุมชนตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไปรวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม อย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อประโยชน์ในการดำเนินงานของวิสาหกิจ ชุมชนในเครือข่าย 3.มีข้อบังคับของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในการบริหารจัดการ

  21. คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน(ต่อ)คุณสมบัติและหลักเกณฑ์การจัดตั้งเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน(ต่อ) 4.ชื่อและที่ตั้งของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 5.ชื่อและที่อยู่ของผู้มีอำนาจทำการแทนเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 6.ชื่อและที่อยู่ของสมาชิกเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 7.กิจการที่เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนมีความประสงค์จะดำเนินการ 8. มีแผนประกอบการของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน

  22. แบบฟอร์มที่ใช้ในการจดทะเบียนแบบฟอร์มที่ใช้ในการจดทะเบียน

  23. แบบคำขอจดทะเบียน (แบบ สวช.01)

  24. ใบรับเรื่องการยื่นคำขอรับใบรับเรื่องการยื่นคำขอรับ จดทะเบียน(แบบ ท.ว.ช.1)

  25. หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนหนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียน (แบบ ท.ว.ช.2)

  26. เอกสารสำคัญแสดงการดำเนินกิจการ (แบบ ท.ว.ช.3)

  27. เอกสารสำคัญแสดงการดำเนินกิจการ (แบบ ท.ว.ช.3)(ต่อ)

  28. ขั้นตอนการรับจดทะเบียนขั้นตอนการรับจดทะเบียน 1. ขอรับ และยื่นแบบคำขอจดทะเบียน(แบบ ส.ว.ช.01) ณ ศูนย์บริการฯ หรือสำนักงานรับจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน 2. เจ้าหน้าที่รับเรื่องพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติ การกรอกข้อมูล ในแบบและเอกสารหลักฐานประกอบในเบื้องต้นให้ถูกต้อง ครบถ้วน 3. สำนักงานเกษตรอำเภอ ออก “ใบรับเรื่อง ท.ว.ช.1” ให้ผู้ยื่นขอจดทะเบียน และศูนย์บริการฯ ที่ส่งแบบ 4. นายทะเบียนพิจารณาตรวจสอบข้อมูลทั้งหมด 5. เจ้าหน้าที่ทำการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมระบบงานสารสนเทศ วิสาหกิจชุมชน

  29. ขั้นตอนการรับจดทะเบียน(ต่อ)ขั้นตอนการรับจดทะเบียน(ต่อ) 6. นายทะเบียน พิจารณาผลการรับจดทะเบียน หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ “ ปิดประกาศ” เป็นเวลา 7 วัน ณ สำนักงานรับจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ผลการปิดประกาศ 6.1 ) กรณีไม่มีผู้คัดค้าน นายทะเบียน “อนุมัติ” การจดทะเบียน ได้ “รหัสทะเบียน” พร้อม ออก “หนังสือและเอกสารสำคัญแสดงการจดทะเบียน(ท.ว.ช.2 และ ท.ว.ช.3)” ให้แก่ผู้มาขอจดทะเบียนมารับได้ต่อไป

  30. ผลการปิดประกาศ 6.2 )กรณีมีการคัดค้านภายใน 7 วันนับตั้งแต่มีการปิดประกาศ ผู้คัดค้านยื่นแบบคำร้องคัดค้านการขอจดทะเบียน (แบบ สวช.02) แก่นายทะเบียน นายทะเบียนพิจารณา หากพบว่าไม่ขาดคุณสมบัติ ให้ออกหนังสือและเอกสารสำคัญแสดงการจดทะเบียน (ทวช.2 และ ท.ว.ช 3) แก่ผู้ขอจดทะเบียนมารับได้ต่อไป หากพบว่าขาดคุณสมบัติ “ไม่รับจดทะเบียน”

  31. การไม่รับจดทะเบียน นายทะเบียนต้องแจ้งผลการพิจารณา “การไม่รับจดทะเบียน” ให้แก่ผู้มายื่นขอจดทะเบียน ทราบภายใน 15 วันนับแต่วันที่พิจารณา เสร็จสิ้นโดยใช้ “หนังสือแจ้งการไม่รับจดทะเบียน(ท.ว.ช.7)

  32. กรณีที่มีการอุทธรณ์การไม่รับจดทะเบียนกรณีที่มีการอุทธรณ์การไม่รับจดทะเบียน ยื่นแบบคำร้องอุทธรณ์คัดค้านการไม่รับจดทะเบียน(แบบ ส.ว.ช.06) ต่อคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด ผลการพิจารณา หากพบว่าไม่ขาดคุณสมบัติ ให้ออกหนังสือและเอกสารสำคัญ แสดงการจดทะเบียน(ทวช.2 และ ท.ว.ช. 3) ให้แก่ผู้ขอจดทะเบียน หากพบว่าขาดคุณสมบัติ “ไม่รับจดทะเบียน(ถือเป็นที่สุด)”

  33. การต่อทะเบียน(พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน มาตราที่ 8,9) วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ที่จดทะเบียน ต้องแจ้งความประสงค์จะดำเนินกิจการต่อไป(ตามแบบ ส.ว.ช.03) ภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันสิ้นปฏิทินทุกปี หากไม่แจ้งเป็นเวลา 2 ปี ให้นายทะเบียนทำหนังสือเตือน(ตามแบบ ท.ว.ช.4)แจ้งภายในระยะเวลา ที่กำหนดไม่น้อยกว่า 15 วัน ถ้าไม่มีการแจ้งตามคำเตือนดังกล่าว ให้นายทะเบียนถอนชื่อออกจากทะเบียน(ตามแบบ ท.ว.ช.5 และ ท.ว.ช.6)

  34. กรณีการขอยกเลิกทะเบียน/เพิกถอนทะเบียนกรณีการขอยกเลิกทะเบียน/เพิกถอนทะเบียน วิสาหกิจชุมชนขอยกเลิกทะเบียนโดยยื่นแบบ สวช.04 นายทะเบียนพิจารณาเพิกถอนทะเบียน(ท.ว.ช. 5) และแจ้งให้วิสาหกิจทราบภายใน 30 วันนับตั้งแต่มีคำสั่ง(ท.ว.ช.6) หากมีการอุทธรณ์(ตามแบบ สวช.06) ส่งเรื่องให้คณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนจังหวัด/กรุงเทพมหานครพิจารณา หากพบว่า ไม่ขาดคุณสมบัตินายทะเบียนต้องออกประกาศยกเลิกคำสั่ง ของนายทะเบียนที่ได้ยกเลิกหรือเพิกถอนทะเบียน หากพบว่า ขาดคุณสมบัติไม่รับจดทะเบียน(ถือเป็นที่สุด)

  35. “คุณ” คือ คนสำคัญ ของ งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน สวัสดี

More Related