1 / 47

Present Worth Analysis

Present Worth Analysis. อาจารย์อรอุมา กอสนาน. สรุปสูตรเพื่อง่ายต่อการนำไปใช้. หาค่า P เมื่อ ทราบค่า F ; P = F (P/F, i , n ) หาค่า F เมื่อ ทราบค่า P ; F = P (F/P, i , n ) หาค่า P เมื่อ ทราบค่า A ; P = A (P/A , i , n )

willis
Download Presentation

Present Worth Analysis

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Present Worth Analysis อาจารย์อรอุมา กอสนาน

  2. สรุปสูตรเพื่อง่ายต่อการนำไปใช้สรุปสูตรเพื่อง่ายต่อการนำไปใช้ • หาค่า P เมื่อ ทราบค่า F ; P = F (P/F, i , n) • หาค่า F เมื่อ ทราบค่า P ; F = P (F/P, i , n) • หาค่า P เมื่อ ทราบค่า A ; P = A (P/A , i , n) • หาค่า A เมื่อ ทราบค่า P ; A = P (A/P , i , n) • หาค่า A เมื่อ ทราบค่า F ; A = F (A/F, i , n) • หาค่า F เมื่อ ทราบค่า A ; F = A (F/A, i , n) • หาค่า P เมื่อ ทราบค่า G ; P = G (P/G, i, n) • หาค่า A เมื่อ ทราบค่า G ; A = G (A/G, i, n)

  3. Present Worth ;PWมูลค่าเทียบเท่าปัจจุบัน จะนำมาใช้ในการตัดสินใจเลือกโครงการต่างๆ โดยการแปลงค่าของเงินที่ช่วงเวลาต่างๆ มาที่ปีปัจจุบันแล้วทำการเปรียบเทียบกันว่าโครงการใดใช้ค่าใช้จ่ายต่ำสุด หรือได้กำไรสูงสุดจึงเลือกโครงการนั้น

  4. 1. การเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุเท่ากันโดยวิธีมูลค่าปัจจุบัน (Present Worth - Comparison of Equal - Lived Alternatives) ***การเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุเท่ากันนั้นจะง่ายต่อการนำมาเปรียบเทียบ แต่ถ้าโครงการมีอายุไม่เท่ากันในความจริงแล้วความเสี่ยงย่อมแตกต่างกัน โครงการที่มีอายุมากกว่าย่อมต้องมีความเสี่ยงสูงกว่า

  5. ตัวอย่างที่ 1 เครื่องกลึงแบบ A และเครื่องกลึงแบบ B ซึ่งมีค่าใช้จ่ายต่างๆ ดังตารางด้านล่าง จงเปรียบเทียบที่อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี โดยวิธีมูลค่าปัจจุบัน

  6. 20,000 0 1 2 3 4 5 A = 80,000 300,000 เครื่องกลึงแบบ A

  7. 40,000 0 1 2 3 4 5 A = 85,000 320,000 เครื่องกลึงแบบ B

  8. ทำการแปลงมูลค่าของเงินที่ช่วงเวลาต่างๆ ไปที่ช่วงเวลาที่ 0 แล้วหักลบกันเป็นรายจ่ายเทียบเท่าเงินลงทุน ณ ปีปัจจุบัน มูลค่าปัจจุบันของเครื่องกลึงแบบ A ; PWA = - 300,000 - 80,000(P/A,10%,5) + 20,000(P/F,10%,5) = - 300,000 - (80,000)(3.791) + (20,000)(0.6209) = - 590,862 บาท

  9. มูลค่าปัจจุบันของเครื่องกลึงแบบ B ; PWB = - 320,000 - 85,000(P/A,10%,5) + 40,000(P/F,10%,5) = - 320,000 - (85,000)(3.791) + (40,000)(0.6209) = - 617,399 บาท สรุปลงทุนซื้อเครื่องกลึงแบบ A เพราะเสียค่าใช้จ่ายในการลงทุนต่ำสุด เมื่อเทียบกับเครื่องกลึงแบบ B

  10. 2. การเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุแตกต่างกันโดยวิธีมูลค่าปัจจุบัน (Present Worth - Comparison of Different - Lived Alternatives) ในการเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุแตกต่างกันจะต้องทำให้อายุเท่ากันเสียก่อนถึงจะนำมาเปรียบเทียบกันได้ โดยการนำอายุของโครงการมาหาวิธีคูณร่วมน้อย เช่น โครงการ A อายุ 2 ปี โครงการ B อายุ 3 ปี เมื่อใช้วิธี ค.ร.น. จะได้ 2 x 3 = 6 ปี

  11. แสดงว่า โครงการทั้งสองจะต้องถูกขยายอายุออกไปโดยสมมติว่าลงทุนใหม่กับโครงการ A 3 ครั้ง และกับโครงการ B 2 ครั้ง (ลงทุนใหม่คือซื้อเครื่องจักรใหม่เมื่อหมดอายุ)ในการคำนวณแบบนี้จะสมมติว่าค่าใช้จ่ายและราคาเครื่องจักรจะไม่เปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา 6 ปี (ช่วงเวลาที่หา ค.ร.น. ออกมาได้)

  12. 3. การเปรียบเทียบโครงการโดยวิธีเงินทุนนิรันดร์ (Capitalized Cost Comparison of Two Alternatives) โครงการที่มีอายุไม่เท่ากันมีอายุการใช้งานนานๆ เช่น สะพานข้ามแม่น้ำ ท่อระบายน้ำ อาจเปรียบเทียบโดยใช้วิธีเงินลงทุนนิรันดร์ก็ได้ โดยจะสมมติว่าอายุมากไปสู่อินฟินิตีสูตรมีดังต่อไปนี้ P (เงินลงทุนนิรันดร์) = A / i

  13. (ก) แผน A 8 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A1 = 100,0000 300,000=A2 10,000,000 (ข) แผน B 8 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A1 = 150,0000 400,000=A2 7,000,000 P(เงินลงทุนนิรันดร์) = (A1+A2) / i

  14. Assumptions of PW analysis of different-life alternatives • LCM Approach • The service provided by the alternatives will be needed for the LCM of years or more. • The selected alternative will be repeated over each life cycle of the LCM in exactly the same manner. • The cash flow estimates will be the same in every life cycle. • Planning Horizon Approach • Only cash flows which occur during study period are considered relevant to the analysis. • An estimate market value at the end of the study period must be made.

  15. Example: • A project engineer with EnvironCare is assigned to start up a new office in a city where a 6-year contract has been finalized to take and to analyze ozone-level readings. Two lease options are available, each with a first cost, annual lease cost, and deposit-return estimates shown below.

  16. A) determine which lease option should be selected on the basis of a present worth comparison, if the MARR is 15% per year. • B) EnvironCare had a standard practice of evaluating all projects over a 5-year period. If a study period of 5 years is used and the deposit returns are not expected to change, which location should be selected? • C) Which location should be selected over a 6-year study period if the deposit return at location B is estimated to be $6000 after 6 years?

  17. PWA = $-45,036 1000 1000 1000 1 2 6 12 16 17 18 3500 15000 15000 15000 • A) PWA = -15000-15000(P/F,15%,6)-15000(P/F,15%,12) +1000(P/F,15%,6)+1000(P/F,15%,12)+1000(P/F,15%,18) -3500(P/A,15%,18)

  18. PWB = $-41,384 2000 2000 9 1 2 16 17 18 3100 18000 18000 PWB = -18000-18000(P/F,15%,9) +2000(P/F,15%,9)+2000(P/F,15%,18) -3100(P/A,15%,18) Location B is selected!

  19. B) • For a 5-year period no cycle repeats are necessary. The PW analysis is • PWA = -15000-3500(P/A,15%,5)+1000(P/F,15%,5) = $ -26,236 • PWB = -18000-3100(P/A,15%,5)+2000(P/F,15%,5) = $ -27,397 Location A is now the better choice!! • C) • For a 6-year period, the deposit return for B is $6000 in year 6. • PWA = -15000-3500(P/A,15%,6)+1000(P/F,15%,6) = $ -27,813 • PWB = -18000-3100(P/A,15%,6)+6000(P/F,15%,6) = $ -27,138 Location B is now the better choice!!

  20. 4. การเปรียบเทียบโครงการโดยวิธีส่วนเพิ่มของมูลค่าปัจจุบัน(Incremental Analysis in Present Worth) การเปรียบเทียบโครงการที่มีการลงทุนไม่เท่ากัน มักนิยมเปรียบเทียบจากส่วนต่างของการลงทุน และส่วนต่างของรายได้โดยนำเอาโครงการที่ลงทุน มากกว่าเป็นตัวตั้งลบด้วยโครงการที่ลงทุนต่ำกว่า (ถ้าอายุของโครงการไม่เท่ากันจะต้องยืดให้อายุเท่ากันก่อน) แล้วนำส่วนต่างเหล่านั้นมาหามูลค่าปัจจุบัน

  21. ส่วนการตัดสินใจนั้นถ้ามูลค่าปัจจุบันที่คำนวณได้มากกว่าศูนย์ ( ? > 0) จะเลือกโครงการที่ใช้เงินลงทุนมากกว่า แต่ถ้าน้อยกว่าศูนย์ (? < 0) จะเลือกโครงการที่ใช้เงินลงทุนน้อยกว่า

  22. 20,000 0 1 2 3 4 5 เครื่องกลึงแบบ B - A A = 5,000 20,000 ตัวอย่างที่ 2 จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 1

  23. ส่วนต่างของเงินลงทุนขั้นต้น = -320,000- (-300,000) = -20,000 บาท ส่วนต่างของค่าใช้จ่ายต่อปี = -85,000 - (-80,000) = -50,000 บาท ส่วนต่างของมูลค่าซาก = 40,000 - 20,000 = 20,000 บาท

  24. มูลค่าปัจจุบันของ B - A ; PW(B - A) = -20,000 - 5,000(P/A, 10%, 5) + 20,000 (P/F, 10% ,5) = -26,537 บาท สรุป เลือกลงทุนโครงการ A เพราะส่วนที่ลงทุนเพิ่มขึ้นมีมูลค่าปัจจุบันต่ำกว่าศูนย์จึงเลือกโครงการที่ใช้เงินลงทุนน้อยกว่า PW(B - A) < 0

  25. Equivalent Uniform Annual Worth ; EUAWมูลค่าเทียบเท่าจ่ายรายปี สำหรับการเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุของโครงการเท่ากัน ก็จะใช้หลักการในการคำนวณคล้ายกับวิธี Present Worth ;PW แต่จะเปลี่ยนจากการหาค่า PW เป็น AW เท่านั้น

  26. ส่วนการเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุของโครงการแตกต่างกันนั้นการใช้วิธีมูลค่าจ่ายรายปี จะดีที่สุดเมื่อเทียบกับวิธีมูลค่าปัจจุบัน เพราะวิธี AW ไม่ต้องมาทำการเปลี่ยนอายุของโครงการให้เท่ากันเหมือนกับวิธี PW

  27. 20,000 0 1 2 3 4 5 A = 80,000 300,000 เครื่องกลึงแบบ A

  28. 40,000 0 1 2 3 4 5 A = 85,000 320,000 เครื่องกลึงแบบ B

  29. (ก) แผน A 0 1 2 3 4 5 6 7 8 A1 = 100,0000 10,000,000 (ข) แผน B 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A1 = 150,0000 7,000,000

  30. การเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุใช้งานนิรันดร์(Perpetual Life) โครงการสาธารณะประโยชน์ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโครงการที่มีอายุยาวนาน หรือไม่อาจจะกำหนดอายุได้ มีแต่ค่าใช้จ่าย เช่น ถนน เขื่อน สะพาน ท่อระบายน้ำ เป็นต้น โดยทั่วไปจะนับว่าโครงการที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไปเป็นโครงการที่มีอายุใช้งานนิรันดร์ การใช้วิธีการวิเคราะห์ที่ถือว่าดีที่สุด คือ การใช้วิธีเทียบเท่าจ่ายรายปีนี้เอง

  31. ตัวอย่างที่3 ต้องการตัดสินใจเลือกสร้างสะพาน 2 แผน คือ แผน A เป็นสะพานคอนกรีต และแผนB เป็นสะพานเหล็ก แผน A มีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 10,000,000 บาท ค่าใช้จ่ายซ่อมแซมต่อปี 100,000 บาท และทุกๆ 5 ปี จะต้องมีการบำรุงรักษาครั้งหนึ่ง (ทาสีผิวถนน) 300,000 บาท A = Pi

  32. แผน B เสียค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 7,000,000บาท ค่าใช้จ่ายในการซ่อมต่อปี 150,000 บาท และทุกๆ 4 ปี จะต้องบำรุงรักษาครั้งใหญ่ 400,000 บาท อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ 6% ต่อปี จงคำนวณหามูลค่าเทียบเท่าจ่ายรายปีนิรันดร์

  33. (ข) แผน B 8 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A1 = 150,0000 400,000 7,000,000 (ก) แผน A 8 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A1 = 100,0000 300,000 10,000,000

  34. แผน A A1 = 100,000 บาท A2 = (300,000) (A/F, 6%, 5) = (300,000) (0.17740) = 53,220 บาท A3 = (10,000,000) i = (10,000,000) (0.06) = 600,000 บาท มูลค่าเทียบเท่าจ่ายรายปีแผน A = A1 + A2 + A3 = 100,000 + 53,220 + 600,000 = 753,220 บาท

  35. แผน B A1 = 150,000 บาท A2 = (400,000) (A/F, 6%, 4) = (400,000) (0.22859) = 91,436 บาท A3 = (7,000,000) i = (7,000,000) (0.06) = 420,000 บาท มูลค่าเทียบเท่าจ่ายรายปีแผน B = A1 + A2 + A3 = 150,000 + 91,436 + 420,000 = 661,436 บาทสรุป เลือก แผน B เพราะค่าใช้จ่ายต่ำกว่าแผน A

  36. การเปรียบเทียบโครงการโดยวิธีส่วนเพิ่มมูลค่าจ่ายรายปี (Incremental Analysis in Annual Worth) การเปรียบเทียบด้วยวิธีนี้ใช้หลักการเช่นเดียวกับ PW (มูลค่าเทียบเท่าปัจจุบัน)แต่จะแตกต่างกันตรงที่ เมื่อได้ผลต่าง หรือส่วนที่เพิ่มขึ้นแล้วจะนำไปหามูลค่าจ่ายรายปีแทน

  37. 20,000 0 1 2 3 4 5 เครื่องกลึงแบบ B - A A = 5,000 20,000 ตัวอย่างที่ 2 จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 1

  38. การคำนวณหาอัตราผลตอบแทน(Rate of Return Computations) จากวิธีการตัดสินใจเลือกโครงการต่างๆ โดยมูลค่าเทียบเท่าปัจจุบัน และมูลค่าเทียบเท่าจ่ายรายปี ซึ่งนอกจากจะทำให้ทราบว่าจะตัดสินใจเลือกโครงการใดแล้วยังทราบต้นทุนที่ควรจะต้องจัดหาในเบื้องต้น และค่าใช้จ่ายสุทธิรายปี แต่อย่างไรก็ตาม ในระดับผู้บริหารก็ยังอยากทราบว่าโครงการ ที่เลือกจะได้อัตราผลตอบแทนเท่าใดเมื่อเทียบกับ

  39. อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก หรือเงินกู้ ซึ่งตามหลักแล้วอัตราผลตอบแทนจะต้องสูงกว่าเงินฝากถ้าเจ้าของธุรกิจใช้เงินส่วนตัวดำเนินการ และสูงกว่าเงินกู้สำหรับเจ้าของธุรกิจที่ใช้เงินจากการกู้ธนาคาร สำหรับการคำนวณหาอัตราผลตอบแทนในที่นี้จะเป็นลักษณะของโครงการเดี่ยว และโครงการที่เปรียบเทียบการตัดสินใจหลายๆ ทางเลือก โดยใช้วิธี PW และวิธี EUAW ซึ่งการคำนวณจะต้องใช้วิธีลองผิดลองถูกเพื่อหาอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสม

  40. อัตราดอกเบี้ยที่นำมาใช้เป็นเกณฑ์ เปรียบเทียบบางครั้ง เรียกว่า อัตราผลตอบแทนที่พอใจต่ำสุด (Minimum Attractive Rate of Return ; MARR) ถ้า MARR ต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนที่คำนวณได้จะเลือกโครงการนั้น

  41. การคำนวณอัตราผลตอบแทนโครงการเดี่ยวRate of Return Computations for a Single Project ในการคำนวณหาอัตราผลตอบแทนจะต้องทดลองกำหนดค่าของอัตราดอกเบี้ย i ของโครงการ แล้วหามูลค่าปัจจุบันของค่าใช้จ่าย (Disbursements ; PWD ) เท่ากับมูลค่าปัจจุบันของรายรับ (Receipts ; PWR )

  42. PWD = PWR0 = PWR - PWD หรืออาจใช้มูลค่าเทียบเท่าจ่ายรายปี EUAWจะได้ EUAWD = EUAWR0 = EUAW R - EUAW D

  43. ค่า i ที่คำนวณได้เรียกได้หลายแบบคือ อัตราตอบแทน (Rate of Return ; ROR) อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return; IRR) อัตราผลตอบแทนที่จุดคุ้มทุน (Breakeven Rate of Return) ดัชนีผลกำไร (Profitability index) หรือ ผลที่ได้รับจากการลงทุน (Return on Investment ; ROI) เพื่อป้องกันความสับสนจึงใช้ i*

  44. 1. การคำนวณหาอัตราผลตอบแทนโดยวิธีมูลค่าปัจจุบัน (PW) ในการคำนวณ จะต้องแปลงค่าของเงินที่ช่วงเวลาต่างๆ มาที่ช่วงเวลาปัจจุบัน โดยกำหนดอัตราดอกเบี้ยขึ้นมา จนกว่าจะทำให้รายได้กับรายจ่ายเท่ากันที่ช่วงเวลาปัจจุบัน

  45. 2. การคำนวณหาอัตราผลตอบแทนโดยวิธีมูลค่าเทียบเท่าจ่ายรายปี (EUAW) ขั้นตอนในการคำนวณก็มีลักษณะคล้ายกับวิธีมูลค่าปัจจุบัน

  46. การเปรียบเทียบโครงการโดยวิธีอัตราผลตอบแทน( Rate of Return Comparison of Alternatives) การเปรียบเทียบโครงการที่มีอายุเท่ากัน การเปรียบเทียบโครงการที่มีเงินลงทุนแตกต่างกันด้วยวิธีอัตราผลตอบแทนส่วนเพิ่ม (Incremental Rate of Return)

More Related