1 / 12

ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ

ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ พ.ศ. 2546 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549. ปัญหา 1. การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยใช้เวลาเกิน 3 เดือน. ข้อเสนอแนะ 1.

Download Presentation

ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ พ.ศ. 2546 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549

  2. ปัญหา 1 • การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยใช้เวลาเกิน 3 เดือน ข้อเสนอแนะ 1 • ให้อำเภอเร่งรัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการช่วยเหลือ • ผู้ประสบภัยให้เสร็จสิ้น ภายใน 3 เดือนนับแต่วันเกิดภัย • ให้อำเภอจัดทำทะเบียนการประกาศภัยพิบัติเพื่อติดตาม • หน่วยงานที่รับผิดชอบให้เร่งดำเนินการช่วยเหลือให้เสร็จสิ้น • ภายในระยะเวลากำหนด

  3. ข้อเสนอแนะ 1 (ต่อ) • หากไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้ภายในเวลาที่กำหนดให้ขอ • ขยายเวลาการให้ความช่วยเหลือมายังกรมป้องกันและบรรเทา • สาธารณภัย (อปภ. มีอำนาจอนุมัติการขยายเวลาการให้ความ • ช่วยเหลือ)โดยจะต้องขอขยายก่อนที่การให้ความช่วยเหลือ • จะสิ้นสุด และไม่น้อยกว่า 15 วัน ปัญหา 2 • การส่งเรื่องขอโอนเงินงบประมาณเพื่อชดใช้คืนเงินทดรอง • ราชการล่าช้า ไม่เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงิน • ทดรองราชการฯ พ.ศ. 2546

  4. ข้อเสนอแนะ 2 • ปีงบประมาณเริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคมของปีปัจจุบันถึงวันที่ • 30 กันยายนของปีถัดไป • ภัยพิบัติที่เกิดก่อนเดือนสิงหาคม ให้ดำเนินการจ่ายเงินช่วยเหลือ • และขอโอนเงินงบประมาณเพื่อชดใช้คืนเงินทดรองราชการฯ • ให้เสร็จสิ้นภายในปีงบประมาณ (เดือนก.ย.) สำหรับภัยพิบัติ • ที่เกิดในเดือน ส.ค - ก.ย.ให้จ่ายเงินช่วยเหลือและขอโอนเงิน • งบประมาณเพื่อชดใช้คืนเงินทดรองราชการฯ ในปีงบ • ประมาณถัดไปได้ (ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรอง • ราชการฯพ.ศ. 2546 ข้อ 38

  5. ข้อเสนอแนะ 2 (ต่อ) • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้ลงบัญชีหนังสือจังหวัดที่ • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ขอความเห็นชอบรัฐมนตรี • ว่าการกระทรวงมหาดไทยแล้วโดยแยกแต่ละด้าน/แต่ละครั้ง ใน • www.disaster.go.th หน้าหลัก "เงินทดรองราชการ" หัวข้อ "บัญชี • หนังสือจังหวัดฯ"

  6. ปัญหา 3 • กรณีการขอโอนเงินไม่ทันภายในปีงบประมาณจะเป็นค่าใช้จ่าย • ค้างเบิกข้ามปี ข้อเสนอแนะ 3 • จังหวัด จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบชดใช้เงินทดรองราชการ โดยใช้ • งบประมาณของจังหวัด/หน่วยงานต้นสังกัด/ท้องถิ่น ส่งคืนคลัง • จังหวัด

  7. ปัญหา 4 • จังหวัดใช้เงินทดรองราชการในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด • (งบ 50 ล้านบาท) เกิน 50 ล้าน ต่อหนึ่งภัยพิบัติ/หนึ่งเหตุการณ์ ข้อเสนอแนะ 4 • กระทรวงมหาดไทย สั่งการให้จังหวัดจัดทำทะเบียนควบคุมการ • ใช้จ่ายเงินทดรองราชการ และส่งให้กรมป้องกันและบรรเทา • สาธารณภัย ทุกวันที่ 5 ของเดือน

  8. ปัญหา 5 • การประกาศภัยพิบัติ ประกาศเป็นระดับตำบล/หมู่บ้าน ข้อเสนอแนะ 5 • จังหวัดประกาศในเขตพื้นที่ อำเภอ/กิ่งอำเภอ ที่ประสบภัยพิบัติ • โดยระบุสาเหตุการเกิดภัยพิบัติเช่นอุทกภัยกรณีเกิดจากร่อง • มรสุม หย่อมความกดอากาศ หรือ แนวพัดสอบ พายุดีเปรสชั่น • พายุโซนร้อน ไต้ฝุ่นฯ

  9. ปัญหา 6 • เมื่อเกิดภัยพิบัติขนาดใหญ่ อำเภอไม่ให้การช่วยเหลือโดยผลัก • ให้เป็นภาระหน้าที่ของจังหวัดในการดำเนินการช่วยเหลือ ข้อเสนอแนะ 6 • ท้องถิ่นในพื้นที่ประสบภัย ต้องให้ความช่วยเหลือเป็นลำดับแรก • จากนั้นเป็นหน้าที่ของกิ่งอำเภอ/อำเภอ/จังหวัด ตามลำดับ แต่ทั้งนี้ • การให้ความช่วยเหลือต้องไม่ซ้ำซ้อนกัน

  10. ปัญหา 7 • เอกสารประกอบการขอโอนเงินเพื่อชดใช้เงินทดรองราชการฯ • ไม่ครบถ้วน ข้อเสนอแนะ 7 • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จะได้มีหนังสือซักซ้อม • ความเข้าใจ อีกครั้งหนึ่ง

  11. ปัญหา 8 • หนังสือจังหวัดที่ขอโอนเงินไม่แยกด้านการให้ความช่วยเหลือ ข้อเสนอแนะ 8 • จังหวัดต้องแยกหนังสือการขอโอนเงินในแต่ละด้านการให้ความ • ช่วยเหลือและแต่ละชุดไม่เกิน 10 ล้านบาท

  12. ปัญหา 9 • ภัยแล้ง/ฝนทิ้งช่วง ข้อเสนอแนะ 9 • กระทรวงการคลังตอบข้อหารือกรณีภัยแล้ง/ฝนทิ้งช่วงโดย • ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ว่าราชการจังหวัด แต่ทั้งนี้ กรม ปภ. มี • ข้อสังเกตว่าควรมีข้อมูลประกอบในการประกาศภัยพิบัติ • ดังกล่าว เช่น ข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมชลประทาน

More Related