1 / 40

ความน่าจะเป็น

ความน่าจะเป็น. F. M. B. N. นาย ศิ วาภัทร ทองราช. ครูชำนาญการ โรงเรียน สิริน ธรราชวิทยาลัย นครปฐม. ความน่าจะเป็น. F. M. B. N. กฏเกณฑ์ การนับเบื้องต้น. การทดลองสุ่ม. สารบัญเนื้อหา. แซม เปิลสเปซ. เหตุการณ์. ความน่าจะเป็น. ความน่าจะเป็น. F.

willa
Download Presentation

ความน่าจะเป็น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความน่าจะเป็น F M B N นายศิวาภัทร ทองราช ครูชำนาญการโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย นครปฐม

  2. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์การนับเบื้องต้น การทดลองสุ่ม สารบัญเนื้อหา แซมเปิลสเปซ เหตุการณ์ ความน่าจะเป็น

  3. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฏข้อที่ ในการทำงานอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องมีการทำงานย่อย ๆ ที่ต่อเนื่องกัน 2 อย่าง โดยที่ งานย่อยที่ 1 เลือกทำได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธีของงานย่อยที่ 1 เลือกทำงานย่อยที่2 ได้ n2 วิธี • จะมีวิธีทำงานให้เสร็จสมบูรณ์ได้ทั้งหมด n1n2 วิธี 1 ถ้าใช้วิธีการนี้ก็ไม่จำเป็นต้องเขียนแผนภาพต้นไม้เพื่อหาวิธีทั้งหมด

  4. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ มีเรือข้ามฟากอยู่ 3 ลำ ถ้าผู้โดยสารคนหนึ่งต้องการข้ามฟาก โดยที่เที่ยวไปและเที่ยวกลับต้องไม่นั่งเรือลำเดิม จะมีวิธีข้ามฟากทั้งหมดกี่วิธี ตัวอย่าง วิธีทำ วิธีการข้ามฟากทั้งหมด เที่ยวไป เที่ยวกลับ วิธี

  5. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ ในการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก อย่างละครั้ง ผลลัพธ์ที่ได้จะมีกี่อย่าง ตัวอย่าง วิธีทำ H T ผลลัพธ์ที่ได้ทั้งหมด อย่าง

  6. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ ในการทำงานอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องมีการทำงานย่อย ๆ ที่ต่อเนื่องกัน k อย่าง โดยที่ กฏข้อที่ งานย่อยที่ 1 เลือกทำได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธีของงานย่อยที่ 1 เลือกทำงานย่อยที่2 ได้ n2 วิธี ในแต่ละวิธีของงานย่อยที่ 2 เลือกทำงานย่อยที่3 ได้ n3 วิธี 2 งานย่อยที่ k หรืองานย่อยสุดท้ายเลือกทำงานได้ nk วิธี • จะมีวิธีทำงานให้เสร็จสมบูรณ์ได้ทั้งหมด n1n2n3...nk วิธี

  7. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ ต้องการทำป้ายเพื่อแสดง แบบ สี และขนาด ของรองเท้ากีฬา 6 แบบ แต่ละแบบมี 3 สี และแต่ละสีมี 5 ขนาด จะต้องจัดทำป้ายที่แตกต่างกันทั้งหมดกี่ป้ายจึงจะครบทุกแบบ สี และขนาด ตัวอย่าง วิธีทำ จากโจทย์จะได้ว่า การทำงานนี้มีข้อมูลย่อย ๆ อยู่ 3 อย่าง ได้แก่ แบบของรองเท้ากีฬา แบบ 2 สีของรองเท้าแต่ละแบบ สี 1 ขนาดของรองเท้าแต่ละสี ขนาด 3 ดังนั้น จะต้องทำป้ายที่แตกต่างกันทั้งหมด แบบ

  8. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ จำนวนคู่บวกซึ่งมีสามหลักมีทั้งหมดกี่จำนวน ตัวอย่าง เลขสามหลักที่เป็นจำนวนคู่ จะต้องประกอบด้วยหลักต่าง ๆ ได้แก่ วิธีทำ หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย ดังนั้น จำนวนคู่บวกสามหลักมีทั้งหมด จำนวน

  9. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ ถ้าการกำหนดรหัสประจำตัวพนักงานจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ 1 ตัว และตามด้วยเลขโดด 3 ตัว จงหาว่ารหัสประจำตัวพนักงานที่เป็นไปได้ทั้งหมดมีกี่รหัส โดยที่ ตัวอย่าง วิธีทำ รหัสประจำตัวพนักงานต้องไม่มีเลขโดดที่ซ้ำกัน รหัสประจำตัวพนักงานมีเลขโดดที่ซ้ำกันได้ 2 1 รูปแบบรหัสประจำตัวพนักงานจะต้องประกอบด้วย ตัวอักษร เลขหลักที่ 1 เลขหลักที่ 2 เลขหลักที่ 3

  10. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ ถ้าการกำหนดรหัสประจำตัวพนักงานจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ 1 ตัว และตามด้วยเลขโดด 3 ตัว จงหาว่ารหัสประจำตัวพนักงานที่เป็นไปได้ทั้งหมดมีกี่รหัส โดยที่ ตัวอย่าง วิธีทำ รหัสประจำตัวพนักงานต้องไม่มีเลขโดดที่ซ้ำกัน ตัวอักษร เลขหลักที่ 1 เลขหลักที่ 2 เลขหลักที่ 3 1 ดังนั้น รหัสประจำตัวพนักงานทั้งหมด รหัส

  11. ความน่าจะเป็น F M B N กฏเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ ถ้าการกำหนดรหัสประจำตัวพนักงานจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ 1 ตัว และตามด้วยเลขโดด 3 ตัว จงหาว่ารหัสประจำตัวพนักงานที่เป็นไปได้ทั้งหมดมีกี่รหัส โดยที่ ตัวอย่าง วิธีทำ รหัสประจำตัวพนักงานมีเลขโดดที่ซ้ำกันได้ ตัวอักษร เลขหลักที่ 1 เลขหลักที่ 2 เลขหลักที่ 3 2 ดังนั้น รหัสประจำตัวพนักงานทั้งหมด รหัส

  12. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็น คือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่เราให้ความสนใจ โดยจะระบุค่าเป็นตัวเลขทศนิยมหรือเศษส่วน สิ่งที่ต้องทราบ การทดลองสุ่ม 2 1 แซมเปิลสเปซ เหตุการณ์ 3

  13. ความน่าจะเป็น F M B N การทดลองสุ่ม การทดลองสุ่ม คือ การทดลองหรือการกระทำที่สามารถบอกผลลัพธ์เป็นไปได้ทั้งหมด แต่ไม่สามารถระบุชี้ชัดลงไปได้อย่างแน่นอนว่าผลลัพธ์จะเกิดขึ้นในครั้งนั้น ๆ เป็นอะไร

  14. ความน่าจะเป็น F M B N แซมเปิลสเปซ ตัวอย่าง แซมเปิลสเปซ คือ เซตของผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ S วิธีทำ จงเขียนแซมเปิลสเปซของการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง ได้แก่ ดังนั้น แซมเปิลสเปซ คือ

  15. ความน่าจะเป็น F M B N แซมเปิลสเปซ จงเขียนแซมเปิลสเปซของการทอดลูกเต๋า 1 ลูก และเหรียญบาท 1 เหรียญ พร้อมกัน 1 ครั้ง ตัวอย่าง H 1 T 1 วิธีทำ H 2 T 2 H H T 3 3 T H 4 4 T T H 5 5 H 6 T 6 ดังนั้น แซมเปิลสเปซ คือ

  16. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ เหตุการณ์ คือ เซตของผลลัพธ์ที่สนใจของการทดลองสุ่ม เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ E การเขียนเหตุการณ์ เขียนแซมเปิลสเปซ 2 1 จากแซมเปิลสเปซที่ได้ ให้เลือกเฉพาะสมาชิกที่เราสนใจ นำสมาชิกที่ได้มาเขียนไว้ใน { } ซึ่งคั่นด้วย , 3

  17. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงเขียนเหตุการณ์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่ ลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4 ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน 6 ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 6 4 2 ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นจำนวนเฉพาะหรือเลขเป็นเลขคี่ 1 5 ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นเลขคี่และน้อยกว่า 4 3 6

  18. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงเขียนเหตุการณ์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง เขียนแซมเปิลสเปซ จะได้ วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่ 2 1 ลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4

  19. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงเขียนเหตุการณ์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง เขียนแซมเปิลสเปซ จะได้ วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน 6 4 ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 6 3

  20. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง จงเขียนเหตุการณ์ต่อไปนี้ ตัวอย่าง เขียนแซมเปิลสเปซ จะได้ วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นจำนวนเฉพาะหรือเลขเป็นเลขคี่ ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป็นเลขคี่และน้อยกว่า 4 5 6

  21. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่ วิธีทำ เหรียญขึ้นก้อย ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่และเหรียญบาทขึ้นหัว 4 2 เหรียญบาทขึ้นก้อยหรือลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4 1 เขียนแซมเปิลสเปซ จะได้ 3

  22. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่ วิธีทำ 2 เหรียญขึ้นก้อย 1

  23. ความน่าจะเป็น F M B N เหตุการณ์ จากการโยนเหรียญบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน จงเขียนเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่และเหรียญบาทขึ้นหัว วิธีทำ 4 เหรียญบาทขึ้นก้อยหรือลูกเต๋าขึ้นแต้มน้อยกว่า 4 3

  24. ความน่าจะเป็น F M B N แฟกทอเรียล หมายถึง ผลคูณของจำนวนเต็มบวกตั้งแต่ 1 ถึง n แฟกทอเรียลn เขียนแทนด้วย n! นั่นคือ n! = n(n-1)(n-2)(n-3)… 3x2x1 ตัวอย่าง

  25. ความน่าจะเป็น F M B N การเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) 1. การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น 1. ถ้ามีสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่างกันทั้งหมด จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยน = n!

  26. ความน่าจะเป็น F M B N 2. ถ้ามีสิ่งของ m ชุดที่แตกต่างกันและชุดละ n สิ่งโดยสลับทีละ k (kหารnลงตัว) จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยน = m!(n!)m Ex2. นักเรียนชาย 5 คน และนักเรียนหญิง 5 คน ถ้านำมายืนเข้าแถวเป็นเส้นตรงจะจัดได้กี่แบบ 2.1 ถ้าไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม 2.2 ชายหญิงยืนสลับกัน

  27. ความน่าจะเป็น F M B N วิธีทำ 2.1 ใช้สูตรที่ 1 จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยน = 10! วิธีทำ 2.2 ใช้สูตรที่ 2 จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยน = 2!(5!)2 วิธีทำ 2.2 ถ้าไม่ใช้สูตร ญญญญญ ชชชชช สลับได้ 5! สลับได้ 5! สลับได้ 2! ดังนั้นจำนวนวิธี = 2!5!5!

  28. ความน่าจะเป็น F M B N 3. ถ้ามีสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่างกันโดยนำมา r สิ่ง เขียนแทนด้วย Pn,rดังนั้นจำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนคือ

  29. ความน่าจะเป็น F M B N การเรียงสับเปลี่ยนแบบวงกลม 1. เรียงเป็นวงกลมแบบพลิกไม่ได้ 2. เรียงเป็นวงกลมแบบพลิกได้ จำนวนวิธี วิธี จำนวนวิธี วิธี

  30. ความน่าจะเป็น F M B N การจัดหมู่ (Combination) การจัดหมู่ เป็นวิธีการจัดสิ่งของโดยไม่ถือความสำคัญของลำดับ พิจารณาการเรียง อักษร 3 ตัว ก ข ค โดยจัดทีละ 2 ตัวจะจัดได้ดังนี้ กข, กค, ขก, ขค, คก, คข

  31. ความน่าจะเป็น F M B N ซึ่งถ้าเราพิจารณา การเรียงอักษร จะเห็นว่า กข เหมือนกันกับ ขก กค เหมือนกันกับ คก ขค เหมือนกันกับ คข ดังนั้น การจัดอักษร 3 ตัว โดยจัดทีละ 2 ตัว เป็นหมวดหมู่ได้ดังนี้ คือ กขกค และ ขค

  32. ความน่าจะเป็น F M B N สมบัติเกี่ยวกับการเรียงสับเปลี่ยนและ การจัดหมู่ (Permutation and Combination) 1. 2. เช่น

  33. ความน่าจะเป็น F M B N 4. 3. 5. 6.

  34. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น พิจารณาการกระทำดังต่อไปนี้ หัว ก้อย หัว เป็น โอกาสที่เหรียญจะขึ้น ใน ก้อย เป็น โอกาสที่เหรียญจะขึ้น ใน

  35. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น พิจารณาการกระทำดังต่อไปนี้ เป็น โอกาสที่เหรียญจะขึ้นแต้ม ใน 4 4 2 เป็น 1 1 โอกาสที่เหรียญจะขึ้นแต้ม ใน 5 3 คู่ เป็น โอกาสที่เหรียญจะขึ้นแต้ม ใน 6

  36. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E หาได้จากสูตร n(E) P(E) = n(S) P(E) คือ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E เมื่อ n(E) คือ จำนวนสมาชิกของเหตุการณ์ E n(S) คือ จำนวนสมาชิกของแซมเปิลสเปซ

  37. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่ ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 6 วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน 6 เขียนแซมเปิลสเปซ พร้อมนับจำนวนสมาชิก 2 1 จะได้ 3

  38. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มคู่ 1 ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าจะขึ้นแต้มคู่ เท่ากับ

  39. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มมากกว่า 6 2 ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าจะขึ้นแต้มมากว่า 6 เท่ากับ

  40. ความน่าจะเป็น F M B N ความน่าจะเป็น จากการทอดลูกเต๋า 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ ตัวอย่าง วิธีทำ ลูกเต๋าขึ้นแต้มไม่เกิน 6 3 ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าจะขึ้นแต้มไม่เกิน 6 เท่ากับ

More Related