1 / 30

การบริหารจัดการภัยพิบัติ

การบริหารจัดการภัยพิบัติ. ผศ.ดร. ทวิดา กมลเวชช คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ภัยพิบัติ : ปัญหาสาธารณะในรูปแบบใหม่. โครงสร้างที่ป่วย ( Ill Structure ) ชุดของปัญหา ( Series of Problem ) ความซับซ้อนของปัญหา ( Complexity of Problem ) ความเกี่ยวพันของปัญหา ( Interdependency of Problem )

will
Download Presentation

การบริหารจัดการภัยพิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการภัยพิบัติการบริหารจัดการภัยพิบัติ ผศ.ดร. ทวิดา กมลเวชช คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. ภัยพิบัติ: ปัญหาสาธารณะในรูปแบบใหม่ • โครงสร้างที่ป่วย (Ill Structure) • ชุดของปัญหา (Series of Problem) • ความซับซ้อนของปัญหา (Complexity of Problem) • ความเกี่ยวพันของปัญหา (Interdependency of Problem) • ความไม่แน่นอนและความกระทันหัน (Uncertainty and Immediate) • สังคมความเห็นกับสังคมความรู้ (Opinion & Knowledge Society) • เงื่อนไขของเมืองมหานคร (Condition of Megacity)

  3. ภัยพิบัติ(DISASTER) ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง สภาวการณ์ของภัยที่เกิดขึ้นแก่สาธารณชน ได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย สึนามิ ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันเป็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือมีผู้กระทำให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ และส่งผลให้การดำเนินชีวิตที่ปรกติของชุมชนต้องหยุดชะงักไป ซึ่งภัยธรรมชาติ (Natural Disaster) หมายถึง ภัยอันตรายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ เป็นส่วนหนึ่งของภัยพิบัติด้วย และเป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยต้องประสบกับภัยธรรมชาติทุกปีและนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น

  4. ขั้นตอนการบริหารจัดการภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉินขั้นตอนการบริหารจัดการภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน • การดำเนินการก่อนเกิดภัย: เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย (mitigation and preparedness included) • การดำเนินการระหว่างเกิดภัย: การดำเนินการในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยระดมทรัพยากรที่มีอยู่เข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัย • การดำเนินการหลังจากภัยผ่านพ้นไป: เป็นการฟื้นฟูกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนและของรัฐ ให้กลับคืนภาวะปกติ

  5. Emergency Disaster ผลกระทบจำกัดอยู่ที่ท้องถิ่น การตอบสนองหลักที่ท้องถิ่น สามารถใช้ระเบียบการปฏิบัติประจำ ทรัพยากรส่วนใหญ่ในการจัดการไม่ได้รับผลกระทบ สาธารณะไม่ค่อยมีส่วนในการตอบสนองต่อสถานการณ์ ไม่ค่อยมีความยากในการบูรณะฟื้นฟู ผลกระทบเป็นวงกว้าง รุนแรง การตอบสนองด้วยเครือข่ายหน่วยงานรัฐ ใช้แผนภัยพิบัติที่มีความยืดหยุ่นต่อสิ่งท้าทายต่างๆ มีความเสียหายเกิดขึ้นกับทรัพยากรหลักและหน่วยงานที่ตอบสนองต่อสถานการณ์ สาธารณะมีส่วนในการให้ความช่วยเหลือ มีความยากในการฟื้นฟูบูรณะ

  6. World Trade Center in flame 11 September 2001

  7. Earthquake and Tsunami in Aceh Indonesia 2004

  8. Tsunami in 6 southern provinces, Thailand

  9. Entry of Organizations into Entire System

  10. Thailand: Tsunami Response Static Network

  11. Earthquake in Haiti

  12. JAPAN

  13. การใช้หลักการจัดการภัยพิบัติกับลักษณะพิเศษของภัยการใช้หลักการจัดการภัยพิบัติกับลักษณะพิเศษของภัย หลักการจัดการภัยพิบัติ • ความครบถ้วน • คาดการณ์ล่วงหน้า • ขับเคลื่อนด้วยความเสี่ยง • บูรณาการ (เอกภาพการประสานงาน) • ประสานสอดคล้อง • ร่วมแรงร่วมใจ • ความเป็นมืออาชีพ • ยืดหยุ่น ลักษณะพิเศษของภัย ภัยเกิดได้จากหลายสาเหตุ คู่แฝดของภัยหลัก ระดับความอ่อนไหวของชุมชน ไร้ขอบเขตพื้นที่ทางรัฐศาสตร์ ไม่มีความแน่นอน แปรเปลี่ยนเสมอ ไม่เป็นเส้นตรง โกลาหลวุ่นวาย ภัยพิบัติเป็นการเมือง

  14. การบริหารจัดการภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพการบริหารจัดการภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ การเรียนรู้ด้วยตัวเอง หรือการสร้างความสามารถในการปรับตัว SELF-LEARNING/ ADAPTIVE CAPACITY BUILDING (โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค, ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ, วัฒนธรรมแบบเปิด) หลักการในการจัดการภาวะวิกฤติและความเสี่ยง RISK AND CRISIS MANAGEMENT นโยบายบูรณาการและการจัดการระหว่างหน่วยงานที่มีการจัดชั้นการปฏิบัติงานที่สอดคล้อง INTEGRATED POLICY & SCALABLE INTERAGENCY MANAGEMENT การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและการมีการจัดการการสื่อสารวิธีการและสื่อต่างๆ SHARED INFORMATION AND COMMUNICATION MANAGEMENT การสร้างองค์ความรู้แบบบูรณาการในการจัดการเกี่ยวกับภัย DISASTER MANAGEMENT IS MULTIDISCIPLINARY เครือข่ายชุมชนสามารถฟื้นคืนจากภัย และการสร้างการมีส่วนร่วมที่ระดับต่างๆ RESILIENT COMMUNITY NETWORK& ALL LEVELS OF PARTICIPATION

  15. Likelihood Risk 1 Risk 2 Risk 3 Consequences

  16. สูตรความเสี่ยง ความสียหาย ต่อสินทรัพย์ ผลกระทบจากเหตุการณ์ที่ไม่ต้องการ ความเสี่ยง ภัยคุกคาม โอกาสการเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ต้องการ ความล่อแหลมหรือจุดอ่อน ผลกระทบ x (ภัยคุกคาม x ความล่อแหลมหรือจุดอ่อน) = ความเสี่ยง Impact x (Threat x Vulnerability(ies))= Risk Antiterrorism Program, American University under Department of State, USA.

  17. ค้นหามาตรการตอบโต้ที่ใช้ได้ผลค้นหามาตรการตอบโต้ที่ใช้ได้ผล มาตรการตอบโต้ใดเป็นทางเลือกสำหรับการประเมินความเสี่ยงเฉพาะเรื่อง ? และมาตรการตอบโต้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์โดยเฉพาะคิดในแง่ขั้นตอนการปฏิบัติอุปกรณ์เครื่องมือและบุคลากร มาตรการตอบโต้ใดที่ดีที่สุด ถ้าไม่คำนึงถึงต้นทุนที่เป็นตัวเงิน ? นี่จะเป็นหนทางแก้ปัญหาซึ่งเป็นเกณฑ์วัดที่สำคัญ มาตรการตอบโต้ใดจะเป็นทางเลือกในกรณีที่ “หนทางแก้ปัญหาซึ่งเป็นเกณฑ์วัด สำคัญ” นั้นมีค่าใช้จ่ายสูงเกินไป ทำให้เกิดปัญหายุ่งยาก หรือนำไปปฏิบัติไม่ได้ ค่าใช้จ่าย – รวมถึงค่าใช้จ่ายสำหรับสิ่งของที่จับต้องได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นซ้ำอีก ทั้งในแง่ตัวเงินและในการปฏิบัติงาน ประโยชน์ - แสดงในรูปของจำนวนความเสี่ยงที่ลดลงจากการใช้มาตรการนั้น กำหนดแนวทางของมาตรการตอบโต้ที่สมเหตุผลซึ่งจะลดความเสี่ยงอย่างได้ผล ที่มา: senior seminar in crisis management, American University, USA.

  18. องค์ประกอบทางเทคนิคสังคม (Socio-technical Component)

  19. TSUNAMI NATIONAL RESPONSE INTERACTION NETWORK

  20. BANGKOK METROPOLITANEMERGENCY RESPONSEANDRADIONETWORKS

  21. DECISION SUPPORT SYSTEM สำหรับหน่วยต่างๆ Standard Mode GIS Enabled Mode

  22. ปรับระบบเตือนภัยให้เข้ากับองค์กร ทั้งระบบหลักและระบบสำรอง

  23. รู้จัก”จริงๆ” ทำฐานข้อมูลหน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะท้องถิ่น OTOS ONE TAMBON ONE SEARCH AND RESCUE TEAM มิสเตอร์เตือนภัย

  24. Principal Governor Communities Escape route

  25. ความช่วยเหลือจากนานาชาติความช่วยเหลือจากนานาชาติ • UN Agencies: UNISDR (Hyogo Framework), UNDP, UNESCAP, UNHCR • Government and Government Agencies: JICA, USAID, USTDA, GTZ, etc. • ASEAN (ACDM / AADMER) • Bilateral Collaboration • The promotion of CBDRM (Community Based Disaster and Risk Management)

  26. แล้วเราจะรอดไปด้วยกันแล้วเราจะรอดไปด้วยกัน

More Related