210 likes | 446 Views
การจัดทำ มคอ. 5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา. อาจารย์ ดร. นฤมล เผือกขาว ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. แบบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการตาม TQF. มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1 ( Qualifications Framework). รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) รายงานผลการดำเนินการของ
E N D
การจัดทำ มคอ. 5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา อาจารย์ ดร. นฤมล เผือกขาว ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
แบบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการตาม TQF มาตรฐานคุณวุฒิ มคอ.1 (Qualifications Framework) รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) รายงานผลการดำเนินการของ (Program Specifications) หลักสูตร (มคอ.7) (Program Report) รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายงานผลการดำเนินการ (Course Specifications) รายวิชา มคอ.5 (Course Report) รายละเอียดของประสบการณ์ รายงานผลการดำเนินการ ภาคสนาม (มคอ.4) ประสบการณ์ภาคสนาม(มคอ.6) (Field Experience Specifications) (Field Experience Report) 2
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หัวหน้าภาควิชา 60วันหลังสิ้นภาคการศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ กกอ.+ผู้ทรงคุณวุฒิ TQF ระดับสาขาวิชา (มคอ1) ภาควิชา คณะกรรมการจัดทำ หลักสูตร รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ2) รายละเอียดของรายวิชา (มคอ3) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4 ) อาจารย์ผู้สอน ก่อนเปิดภาคเรียน อาจารย์ผู้สอน 30วัน หลังสิ้นภาคการศึกษา รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ. 5) รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.6 ) รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร (มคอ. 7) 3
(มคอ 5):รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (Course Report) หมายถึง รายงานผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาเมื่อสิ้นภาคการศึกษา
การจัดทำมคอ. 5 และ มคอ. 6 • อาจารย์ผู้สอน/ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบรายวิชานั้นๆ • สอดคล้องกับ มคอ.3/4 • รายงานว่าได้จัดการเรียนการสอนการวัดผลเป็นไปตามที่ระบุไว้ใน • มคอ.3 หรือไม่ • มีปัญหาใดที่ทำให้สอนตามแผนไม่ได้ • นักศึกษามีผลการเรียนเป็นอย่างไรบ้าง • มีข้อเสนอแนะสำหรับการแก้ไขในการดำเนินการสอนครั้งต่อไป ต้องทำ มคอ.5 และ มคอ.6 ให้เสร็จเมื่อไหร่ ตาม KPI ใน มคอ.2 : กำหนดให้จัดทำ มคอ.5 และ มคอ.6 ทุกรายวิชาให้เสร็จ ภายใน 30 วัน หลังจากสิ้นภาคการศึกษา
องค์ประกอบของรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา(มคอ 5) ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบ กับ แผนการสอน หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดำเนินการ หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 2. รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี้ (ถ้ามี) 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนและกลุ่มเรียน (Section) 4. ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอนรายวิชา 5. สถานที่เรียน
หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน 1. รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน ระบุเหตุผลที่การสอนจริงต่างจากแผนการสอนหากมีความแตกต่างเกิน ๒๕% 2. หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน(ถ้ามี) 3 ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทำให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียด ของรายวิชา 4. ข้อเสนอการดำเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีสอน
หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา 1. จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน (ณ วันหมด กำหนดการเพิ่มถอน) 2. จำนวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา 3. จำนวนนักศึกษาที่ถอน (W) 4. การกระจายของระดับคะแนน (เกรด) ระบุจำนวนและร้อยละของนักศึกษาในแต่ละระดับคะแนน 5. ปัจจัยที่ทำให้ระดับคะแนนผิดปกติ (ถ้ามี) 6. ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินที่กำหนดไว้ในรายละเอียด รายวิชา (มคอ.3 หมวด 5 ข้อ 2) 6.1 ความคลาดเคลื่อนด้านกำหนดเวลาการ ประเมิน 6.2 ความคลาดเคลื่อนด้านวิธีการประเมินผลการ เรียนรู้ (ถ้ามี) 7. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดำเนินการ 1. ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอำนวยความสะดวก ระบุปัญหาในการใช้ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน(ถ้ามี) และผลกระทบ 2. ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร ระบุปัญหาด้านการบริหารและองค์กร(ถ้ามี) และ ผลกระทบต่อผล การเรียนรู้ของนักศึกษา
หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา 1. ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา (แนบเอกสาร) 1.1 ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน 1.2 ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 1.2 2. ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอื่น 2.1 ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอื่น ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน 2.2 ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 2.1
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง 1. ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนการสอนตามที่เสนอใน รายงาน/รายวิชาครั้งที่ผ่านมา 2. การดำเนินการอื่น ๆ ในการปรับปรุงรายวิชา 3. ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสำหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป ระบุข้อเสนอพร้อมกำหนดเวลาที่ควรแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบ 4. ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร
มคอ 5 ต่างจากการรายงานผลเดิมอย่างไร มีเฉพาะ หมวด 3 สรุปผลการจดการเรียนการสอนของรายวิชา ประโยชน์ของ มคอ 5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา 1. มีการบันทึกปัญหา อุปสรรค เป็นลายลักษณ์อักษร 2. มีการเสนอแนะแนวทางแก้ไขเพื่อการพัฒนาในการสอนครั้งต่อไป 3. เป็นตัวบ่งชี้สำหรับการประกันคุณภาพหลักสูตร 4. ในกรณีมีการเปลี่ยนแปลงผู้สอน ผู้สอนใหม่จะมีข้อมูลเดิม
การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบ TQF ซึ่งบันทึกในฐานข้อมูลหลักสูตรของ สกอ. ให้ สกอ. เผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบ TQF ซึ่งบันทึกในฐานข้อมูลหลักสูตรเพื่อการเผยแพร่ (Thai Qualifications Register: TQR) ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรที่ได้รับอนุมัติจากสภาสถาบันก่อนเปิดสอน และได้แจ้งให้ สกอ. รับทราบภายใน 30 วัน 2. เมื่อสถาบันฯ ได้เปิดสอนไปแล้วอย่างน้อยครึ่งระยะเวลาของหลักสูตร 3. ผลการประเมินคุณภาพภายในตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดใน มคอ.2 (หมวดที่ 7 ข้อ7) ซึ่งสอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายใน จะต้องมีคะแนนเฉลี่ย ระดับดีขึ้นไป (3.51)ต่อเนื่องกัน 2 ปี นับตั้งแต่เปิดสอนหลักสูตร ข้อฝากให้คิด
การเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบ TQF ซึ่งบันทึกในฐานข้อมูลหลักสูตรของ สกอ. 4. หลักสูตรใดที่ไม่ได้รับการเผยแพร่ ให้สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการปรับปรุงตามเงื่อนไขที่ คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะกำหนดจากผลการประเมินต่อไป 5. กรณีหลักสูตรได้รับการเผยแพร่แล้ว สถาบันอุดมศึกษาจะต้องกำกับดูแลให้มีการรักษาคุณภาพให้ มีมาตรฐานอยู่เสมอ โดยผลการประเมินคุณภาพภายในต้องมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดีขึ้นไป หรือเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิสาขานั้นกำหนดทุกปีหลังจากได้รับการเผยแพร่ หากต่อมาปรากฏว่าผลการประเมินคุณภาพหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาใดไม่เป็นไปตามที่กำหนด ให้ สกอ. เสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อพิจารณาถอนการเผยแพร่หลักสูตรนั้น จนกว่าสถาบันอุดมศึกษานั้นจะได้มีการปรับปรุงตามเงื่อนไขของคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่กำหนดใน มคอ.2 (หมวดที่ 7 ข้อ7) 3. มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ให้ครบทุกรายวิชา 4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดำเนินการของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5.อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา • ข้อ 3,4 เป็นหน้าที่ของอาจารย์ทุกท่าน ถ้าไม่มีมคอ.5 และ มคอ.6 • อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จัดทำมคอ.7 ไม่ได้ • การตรวจประเมินคุณภาพหลักสูตรไม่ผ่านเกณฑ์ (3.51) • หลักสูตรไม่ได้รับการรับรองและเผยแพร่ • ผลกระทบถึงนักศึกษาในหลักสูตร
กรอบมาตรฐาคุณวุฒิ อุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์กำหนดชื่อปริญญา TQF ระดับสาขาวิชา วางแผนปรับปรุง + พัฒนา รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ2) ภาควิชา คณะกรรมการจัดทำหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร หัวหน้าภาควิชา การรายงานผลหลักสูตรประจำปี(มคอ.7) (รายงานผลการดำเนินการในภาพรวม และเสนอแนวทางในการปรับปรุง) รายละเอียด ของรายวิชา (มคอ3,4) อาจารย์ผู้สอน การรายงานผล รายวิชา(มคอ5,6 ) กระบวนการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล กลวิธีการสอนแบบต่าง ๆ อาจารย์ผู้สอน Teaching Unit การวิจัยในห้องเรียน ติดตามโดยการประกันคุณภาพ หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์แนวทางอื่น ๆ สรุปการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา (TQF) เอกสาร มคอ.3-7 เป็นเอกสารภายในของสถาบัน ต้องมีให้ตรวจสอบ • ติดตามผลการดำเนินการโดยประกันคุณภาพ (IQA)
การจัดการเรียนการสอน การดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา • จะสำเร็จได้โดย • ความร่วมมือของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกคน และ • การสนับสนุนอย่างเต็มที่จากผู้บริหารทุกระดับ
ขอบพระคุณ คณบดี และ กรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา คณาจารย์ที่เข้าฟังทุกท่าน ขอบคุณค่ะ
คำถาม 20