1 / 27

4 . คณะทำงานระดับสนามสอบ และค่าตอบแทน O-NET

4 . คณะทำงานระดับสนามสอบ และค่าตอบแทน O-NET. คณะกรรมการดำเนินการทดสอบ O-NET ระดับสนามสอบ มีองค์ประกอบดังนี้. หัวหน้าสนามสอบ ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน 2. ผอ. โรงเรียนที่ 2 - 8 ร่วมเป็นกรรมการอำนวยการ 3. ผู้แทนจากสนามสอบ เป็นกรรมการกลาง กรรมการคุมสอบ (ครูโรงเรียนอื่น) นักการภารโรง

Download Presentation

4 . คณะทำงานระดับสนามสอบ และค่าตอบแทน O-NET

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 4.คณะทำงานระดับสนามสอบ4.คณะทำงานระดับสนามสอบ และค่าตอบแทนO-NET

  2. คณะกรรมการดำเนินการทดสอบO-NETระดับสนามสอบคณะกรรมการดำเนินการทดสอบO-NETระดับสนามสอบ มีองค์ประกอบดังนี้ • หัวหน้าสนามสอบ ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน • 2. ผอ. โรงเรียนที่ 2 - 8 ร่วมเป็นกรรมการอำนวยการ • 3. ผู้แทนจากสนามสอบ เป็นกรรมการกลาง • กรรมการคุมสอบ (ครูโรงเรียนอื่น) • นักการภารโรง • พนักงานขับรถ

  3. คณะกรรมการจัดสอบO-NETระดับสนามสอบ และ ศูนย์สอบ มีการกำหนดสัดส่วนไว้ดังนี้ • จำนวน 1 ห้องสอบ ให้จัดกรรมการคุมสอบ 2 คน • จำนวน 3 ห้องสอบ ให้จัดกรรมการกลางได้ 1 คน • จำนวน 5 ห้องสอบ ให้จัดนักการภารโรงได้ 1 คน • จำนวน 5 ห้องสอบ ให้จัด ผู้สังเกตการ*ได้1 คน

  4. บทบาทและหน้าที่ของหัวหน้าสนามสอบ(หน้า 11 – 12) • ประสานกับศูนย์สอบ โดยให้ทำตามแนวปฏิบัติของ สทศ. • เสนอรายชื่อเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ • จัดประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบ ก่อนวันสอบ • กำกับการจัดห้องสอบ ติดสติ๊กเกอร์/รายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ • รับส่งกล่องแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ เอกสารเกี่ยวกับการจัดสอบจากศูนย์สอบ และเก็บรักษาให้ปลอดภัย • ประสานงานกับศูนย์สอบเกี่ยวกับ “ผู้สังเกตการสอบ”ประจำสนามสอบ • เป็นผู้เปิดกล่องแบบทดสอบในวันสอบ ไม่เกิน 1 ชั่วโมงก่อนเวลาสอบตามตาราง ต่อหน้า “ผู้สังเกตการสอบ”

  5. บทบาทและหน้าที่ของหัวหน้าสนามสอบ(ต่อ)บทบาทและหน้าที่ของหัวหน้าสนามสอบ(ต่อ) • ขออนุมัติจากศูนย์สอบให้ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ : Walk in • กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการจัดสอบให้มีประสิทธิภาพ • สั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการระดับสนามสอบ • เก็บรักษาแบบทดสอบ นำส่งกระดาษคำตอบให้ครบถ้วน • ประสานเบิกจ่ายค่าตอบแทนกรรมการระดับสนามสอบรวบรวมหลักฐาน สรุปรายงานศูนย์สอบ (หน้า 54 - 56) • สรุปผล และกำหนดบทลงโทษร่วมกับผู้สังเกตการสอบ ในกรณีที่ส่อทุจริต เพื่อเสนอให้ สทศ. พิจารณา ต่อไป • กำกับ ดูแลให้การจัดสอบเป็นไปตามแนวปฏิบัติของ สทศ.มีความเรียบร้อย ยุติธรรม และโปร่งใส

  6. บทบาทและหน้าที่ของกรรมการกลาง(หน้า 13 – 15) • แจกซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ และใบเซ็นซื่อ ผู้เข้าสอบ (สทศ.2) ของวิชาที่สอบ ให้ตรงกับวิชาที่สอบตามตารางสอบและไม่สลับห้องสอบ ให้กรรมการคุมสอบ • 2. ประสานงานกับกรรมการคุมสอบ และผู้เข้าสอบที่มาติดต่อรวมทั้งรายงานสถิติจำนวนผู้เข้าสอบ หลังเสร็จสิ้นการสอบของแต่ละวิชา โดยใช้ username + passwordของสนามสอบ • 3. เดินตรวจสอบความเรียบร้อยของห้องสอบและสนามสอบระหว่างดำเนินการสอบในแต่ละวิชา

  7. บทบาทและหน้าที่ของกรรมการกลาง(ต่อ)บทบาทและหน้าที่ของกรรมการกลาง(ต่อ) • รับคืนกระดาษคำตอบ (สทศ.1) พร้อมทั้งซองแบบทดสอบ และ สทศ.2 จากกรรมการคุมสอบ 2 คนแต่ละห้องสอบ โดยตรวจสอบความเรียบร้อย และนับจำนวนให้ถูกต้อง ก่อนที่จะปิดผนึกซองกระดาษคำตอบ ต่อหน้ากรรมการ-คุมสอบ และผู้สังเกตการประจำสนามสอบ O-NET • 5. ช่วยควบคุมห้องสอบในกรณีที่กรรมการคุมสอบไม่เพียงพอ • 6. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าสนามสอบ

  8. บทบาทและหน้าที่ของกรรมการคุมสอบ(หน้า 18 - 19) “ก่อนการสอบ” • รายงานตัวต่อหัวหน้าสนามสอบ ก่อนเวลาสอบ ไม่น้อยกว่า 30 นาที • รับซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ และใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.2) จากกรรมการกลาง ตามกำหนดเวลา • ตรวจบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวนักเรียนที่มีรูปถ่าย ก่อนอนุญาตให้ผู้มีสิทธิ์สอบเข้าสอบ

  9. บทบาทและหน้าที่ของกรรมการคุมสอบ(ต่อ)บทบาทและหน้าที่ของกรรมการคุมสอบ(ต่อ) “ระหว่างการสอบ” • กำกับการดำเนินการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เพื่อความโปร่งใสและยุติธรรม ในการคุมสอบที่มีประสิทธิภาพ • คุมสอบโดยให้ยึดตามแนวปฏิบัติในคู่มือฉบับนี้เป็นหลัก • ควบคุมมิให้ผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบ หรือทำการทุจริต • รายงานหัวหน้าสนามสอบ กรณีที่พบทุจริต/สงสัยว่าทุจริตและห้ามบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าบริเวณห้องสอบ • รักษาความลับของแบบทดสอบ โดยไม่ให้บุคคลอื่น หรือกรรมการคุมสอบดูแบบทดสอบ

  10. บทบาทและหน้าที่ของกรรมการคุมสอบ(ต่อ)บทบาทและหน้าที่ของกรรมการคุมสอบ(ต่อ) “หลังเสร็จสิ้นการสอบ” • ตรวจนับกระดาษคำตอบและแบบทดสอบให้ถูกต้อง และมีจำนวนครบถ้วน • ตรวจสอบการกรอกข้อมูลและการระบายที่หัวกระดาษคำตอบให้เรียบร้อยและถูกต้อง • รักษากระดาษคำตอบและแบบทดสอบของผู้เข้าสอบ/ขาดสอบและต้องนำส่งกรรมการกลาง/หัวหน้าสนามสอบ ทันที

  11. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(หน้า 20 – 27) • รายงานตัวต่อหัวหน้าสนามสอบ ก่อนเวลาสอบ 30 นาที • รับซองแบบทดสอบ ซองกระดาษคำตอบ และใบเซ็นชื่อตรวจสอบความถูกต้องให้ตรงกัน มีร่องรอยถูกเปิดหรือไม่ • ตรวจสอบความเรียบร้อยในห้องสอบ หากพบว่าผิดปกติ ให้แจ้งหัวหน้าสนามสอบเพื่อดำเนินการแก้ไขทันที • ให้นักเรียนเข้าห้องสอบ ก่อนสอบ 15 นาที ตรวจหลักฐานแล้วนั่งให้ตรงกับหมายเลขที่นั่งสอบ ไม่มีบัตร ห้ามเข้า • อธิบายให้ทราบถึงข้อห้าม และข้อควรปฏิบัติในการสอบ

  12. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ)วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ) 6. ก่อนเวลาสอบ 10 นาที ให้ตัวแทนผู้เข้าสอบ 2 คน เป็นพยาน เปิดซองแบบทดสอบ พร้อมลงลายมือชื่อใน สทศ.2 (2 แผ่น) 7. แจกกระดาษคำตอบให้ตรงกับรายชื่อตามลำดับเลขที่นั่งสอบ เป็นรูปตัว U อย่างเคร่งครัดเรียงเลขที่นั่งจากน้อยไปหามาก 8. แจ้งให้ผู้เข้าสอบตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทั้งหมด และให้ลงลายมือชื่อในกระดาษคำตอบ (สทศ.1) ด้วยปากกา 9. แจกแบบทดสอบที่ได้จัดเรียงสลับไว้ จำนวน 6 ชุดข้อสอบเป็นรูปตัว U อย่างเคร่งครัดเรียงเลขที่นั่งจากน้อยไปหามาก

  13. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ)วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ) 10. แจ้งให้ผู้เข้าสอบระบายรหัสชุดข้อสอบ ในกระดาษคำตอบ และเขียนชื่อ-สกุล เลขที่นั่งสอบบนหน้าปกแบบทดสอบ 11. เมื่อถึงเวลาสอบให้ผู้เข้าสอบตรวจนับจำนวนหน้า/จำนวนข้อ ให้ผู้เข้าสอบอ่านคำชี้แจงที่ปรากฏบนหน้าปกแบบทดสอบ โดยกำชับให้บริหารเวลาในการทำข้อสอบให้ครบทุกข้อ 12. ประกาศให้ผู้เข้าสอบเริ่มทำการสอบ ตรวจการระบายรหัสฯ โดยย้ำให้ชัดเจนว่า ให้ระบายด้วยดินสอดำ 2B เท่านั้น 13. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบที่มาสายเกิน 30 นาที เข้าห้องสอบ ผู้ที่มาสายไม่ว่ากรณีใดๆ จะไม่ได้รับการต่อเวลาในการสอบ

  14. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ)วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ) 14. หลังจากเริ่มสอบ 30 นาที ให้เก็บข้อสอบ / กระดาษคำตอบ ของผู้ขาดสอบ แล้วให้ผู้เข้าสอบลงลายมือชื่อใน สทศ.2 15. ใช้ดินสอดำ 2B ระบาย“ข”บนหัวกระดาษคำตอบ ตรงช่อง “กรณีขาดสอบ” และเขียนคำว่า –ขาดสอบ–ลงใน สทศ.2 16. กระดาษคำตอบที่ไม่ตรงกับผู้เข้าสอบ/ชำรุด ให้ระบาย “ย” บนหัวกระดาษคำตอบ ลงลายมือชื่อแล้วเก็บส่งคืน สทศ. 17. ประกาศเวลาให้ผู้เข้าสอบทราบ เมื่อเวลาผ่านไป 1 ชั่วโมง ก่อนหมดเวลาสอบ 5 นาที และเมื่อหมดเวลาสอบ

  15. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ)วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ) 18. ห้าม กรรมการคุมสอบแก้ไขแบบทดสอบ / อธิบายเพิ่มเติม เว้นแต่จะได้รับแจ้งจากหัวหน้าสนามสอบ 19. ห้าม กรรมการคุมสอบทำกิจกรรมอื่นที่อาจเกิดความเสียหาย เช่น พูดคุยเสียงดัง โทรมือถือ ทำงานส่วนตัว อ่านหนังสือ 20. กำกับการสอบอยู่ในห้องสอบตลอดเวลา ยกเว้นมีเหตุจำเป็น จะต้องมีกรรมการอย่างน้อย 1 คน อยู่ในห้องสอบ 21. ให้ผู้เข้าสอบนั่งอยู่จนหมดเวลาสอบแล้ววางกระดาษคำตอบ บนแบบทดสอบ เก็บแยกกันตามผังที่นั่งสอบเป็นรูปตัว U

  16. วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ)วิธีการทำงานของกรรมการคุมสอบ(ต่อ) 22. รวบรวมและนับจำนวนกระดาษคำตอบทั้งหมดให้ครบถ้วน ทั้งผู้ที่เข้าสอบและขาดสอบตรวจสอบให้ตรงกับ สทศ.2 23. หากมีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษนำกระดาษคำตอบหุ้มด้วย สทศ.3 บรรจุในซองกระดาษคำตอบ ในห้องสอบสุดท้ายสนามนั้น 24. นำซองกระดาษคำตอบที่บรรจุ สทศ.2 และซองแบบทดสอบ ที่ครบถ้วน ส่งให้กับหัวหน้าสนามสอบ และกรรมการกลาง 25. ลงลายมือชื่อส่งกระดาษคำตอบในบัญชีรับส่งแบบทดสอบ / กระดาษคำตอบ ระหว่างหัวหน้าสนามสอบกับครูคุมสอบ (หน้า 52)

  17. บทบาทและหน้าที่ของนักการภารโรง(หน้า 19) • อำนวยความสะดวกแก่กรรมการกลางและกรรมการคุมสอบโดยดำเนินการต่างๆ ตามที่ได้รับการร้องขอ • 2. จัดเตรียมสถานที่สำหรับการจัดสอบ O-NET พร้อมทั้งติดเอกสารประชาสัมพันธ์ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสอบ ให้เรียบร้อยก่อนดำเนินการสอบ • 3. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าสนามสอบ

  18. บทบาทและหน้าที่ของผู้สังเกตการประจำสนามสอบ(หน้า 35) • กำกับการรับ-ส่ง แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ พร้อม กับหัวหน้าสนามสอบ ระหว่างศูนย์สอบกับสนามสอบ • กำกับการเปิดกล่องแบบทดสอบให้ตรงตามตารางสอบ • พร้อมลงชื่อในเอกสารกำกับการเปิดกล่องแบบทดสอบ • กำกับ ดูแลการจัดสอบภายในสนามสอบ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามมาตรฐานการทดสอบ • กำกับการตรวจนับกระดาษคำตอบ การบรรจุ / ผนึกซอง ของหัวหน้าสนามสอบ กรรมการกลาง ต่อหน้าผู้คุมสอบ • รายงานผลการปฏิบัติงาน ผู้สังเกตการประจำสนามสอบให้กับศูนย์สอบทราบ (หน้า 57)

  19. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการทดสอบ O-NET 1. วิธีการจัดสรรงบประมาณ สทศ. จัดสรรงบประมาณให้ศูนย์สอบตามสภาพภูมิศาสตร์ การเดินทางภายในศูนย์สอบ ระหว่างสนามสอบ และโรงเรียน แบ่งได้ 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มที่ 2 เขตพื้นที่การศึกษาในพื้นที่ราบ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง กลุ่มที่ 3 เขตพื้นที่การศึกษาในพื้นที่ราบ ขนาดเล็ก เขตพื้นที่การศึกษาในพื้นที่ยุ่งยากขนาดใหญ่* ขนาดกลาง กลุ่มที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาในพื้นที่ยุ่งยาก ขนาดเล็ก

  20. 2. การคำนวณค่าใช้จ่าย จัดสรรให้แบบเหมาจ่าย ต่อคน ต่อวิชา กลุ่มที่ 1 อัตรา 20 บาท / คน / วิชา กลุ่มที่ 2 อัตรา 24 บาท / คน / วิชา กลุ่มที่ 3 อัตรา 26 บาท / คน / วิชา * กลุ่มที่ 4 อัตรา 28 บาท / คน / วิชา สำหรับ สพท. ทุกแห่ง ใช้จ่ายเป็นค่าดำเนินการจัดสอบ โดยจ่ายตามข้อบังคับของ สทศ.

  21. อัตราค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบระดับสนามสอบอัตราค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบระดับสนามสอบ ▪ ค่าตอบแทน 2 วัน (วันที่ 8 และ 9 กุมภาพันธ์ 2557) - หัวหน้าสนามสอบ วันละ 550 บาท - กรรมการกลาง วันละ 450 บาท - กรรมการคุมสอบ วันละ 450 บาท - นักการภารโรง วันละ 250 บาท - พนักงานขับรถ วันละ 250 บาท ▪ ค่าตอบแทน 2 วัน(วันที่ 7 และ 10 กุมภาพันธ์ 2557) - หัวหน้าสนามสอบ วันละ ไม่เกิน 400 บาท * - นักการภารโรง วันละ ไม่เกิน 220 บาท *

  22. การกำกับดูแลการสอบของศูนย์สอบ O-NETสพม. 39 • จัดเตรียมคน วางระบบการรับ-ส่งแบบทดสอบ / กระดาษ – • คำตอบ ตลอดจนการจัดเก็บให้มีความปลอดภัย • ประสานงาน ติดตาม กำกับการจัดสอบในแต่ละสนามสอบ • ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ยุติธรรม และโปร่งใส • - ตรวจสอบจำนวนกล่อง กระดาษคำตอบ และหลักฐานต่างๆ • รวมทั้งหลักฐานการใช้จ่ายของแต่ละสนามสอบ • - รายงานผลการปฏิบัติงาน และค่าใช้จ่ายในการจัดสอบต่อ • สทศ. ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557

  23. 4. ปัญหาและอุปสรรคO-NET ในปีการศึกษา 2555 ที่ผ่านมา

  24. ปัญหาและอุปสรรคในปีการศึกษา 2555 ที่ผ่านมา • ด้านการส่งข้อมูลผู้เข้าสอบ : ก่อนดำเนินการทดสอบ • โรงเรียนส่งข้อมูลชื่อ-สกุล หรือเลขประจำตัวประชาชน ผิด • โรงเรียนส่งรายชื่อผิดปีการศึกษา • โรงเรียนไม่ส่งรายชื่อนักเรียนตามกำหนดปฏิทินการทำงาน • โรงเรียนส่งรายชื่อเด็กตาบอด ตาเลือนราง เด็กพิเศษอื่น ๆ ไม่ตรงกับความเป็นจริง

  25. ปัญหาและอุปสรรคในปีการศึกษา 2555 ที่ผ่านมา (ต่อ) • 2. ด้านการจัดสอบ : ระหว่างดำเนินการทดสอบ • มีการใช้กระดาษคำตอบสำรองผิดวิชา ทำให้ไม่สามารถ ตรวจให้คะแนนได้ • สนามสอบส่งกระดาษคำตอบไม่ครบ กระดาษคำตอบ สูญหาย หรือกระดาษคำตอบติดอยู่ในแบบทดสอบ • พบกรณี แจ้งการทุจริต *

  26. หากสนามสอบใดทุจริต หรือส่อในทางทุจริตสทศ. จะไม่ประกาศผลคะแนนสอบในสนามสอบนั้นและจะทำการแจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัดทราบ ต่อไป หากการวิเคราะห์ค่าคะแนนของโรงเรียนมีความผิดปกติ สทศ. จะรายงานไปยังหน่วยงานต้นสังกัด และ สมศ.

  27. ด้วยความปรารถนาดี จาก สพม.39และ

More Related