1 / 19

เครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ

เครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ. ครูสนั่น ทองดารา. แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด. เวลาเรียน. เวลาเรียน 08.30 น . – 12.30 น. 4 คาบ / สัปดาห์ ทฤษฏี 1 คาบ ปฏิบัติ 3 คาบ. แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด. เกณฑ์การวัดผลปประเมินผล. 8 เกรด อิงเกณฑ์ ดังนี้

wendi
Download Presentation

เครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ ครูสนั่น ทองดารา แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  2. เวลาเรียน เวลาเรียน 08.30 น. – 12.30น. 4 คาบ/สัปดาห์ ทฤษฏี 1 คาบ ปฏิบัติ 3 คาบ แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  3. เกณฑ์การวัดผลปประเมินผลเกณฑ์การวัดผลปประเมินผล 8 เกรด อิงเกณฑ์ ดังนี้ ระดับคะแนน 80 ขึ้นไป 3.5 75-79 3 70-74 2.5 65-69 2 60-64 1.5 55-59 1 50-54 0 0-49 แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  4. คำอธิบายรายวิชาศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับสัญญาณเสียง หลักการบันทึกเสียงบนแถบเทปและ CD วงจรขยาย CLASS A , B , AB บล็อกไดอะแกรมของเครื่องขยายเสียง วงจรขยายแรงดันไฟฟ้าและขยายกำลัง โทร คอนโทรล มิกเซอร์ อีควอไลเซอร์ ปรีแอมปลิฟลายเออร์ วงจรเครื่องขยายเสียงโมโน สเตอริโออุปกรณ์ประกอบเครื่องขยายเสียง ลำโพง ไมโครโฟน สายสัญญาณ แมตชิ่ง ปลั๊ก แจ๊ก การต่อเครื่องเสียงขยายเสียงกับระบบเสียงอื่น ๆ การประกอบและทดสอบวงจรเครื่องขยายเสียง การใช้เครื่องมือวัดและทดสอบคุณสมบัติของวงจรและอุปกรณ์เครื่องเสียง แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  5. ด้านความรู้ ส่วนประกอบที่ทำให้เครื่องเสียงเป็นชนิดไฮไฟความผิดเพี้ยนที่มีต่อเครื่องเสียงไฮ - ไฟ ด้านทักษะใส่ C, R คร่อมสวิทช์เพาเวอร์เพื่อป้องกันสัญญาณป๊อปนอยส์ ฝึกต่อวงจรตรวจสอบการออสซิลเลทของเครื่องขยายเสียงด้านคุณธรรม จริยธรรม 5. ความรับผิดชอบ 6. ความสนใจใฝ่รู้ แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  6. สาระสำคัญ เครื่องเสียงชนิด ไฮ – ไฟ เป็นเครื่องที่ให้สัญญาณออกมาเหมือนเสียงเดิมทุกประการโดยไม่ผิดเพี้ยนและไม่มีเสียงแทรกแซง การที่จะทำให้เครื่องเสียงเป็นชนิดไฮ – ไฟ เป็นการทำให้เสียงครอบคลุมย่านความถี่ทุกย่านนั้น ต้องมีปัจจัยประกอบหลาย ๆ อย่าง นอกจากนี้การลดความผิดเพี้ยนที่มีผลต่อเครื่องเสียง ไฮ – ไฟ ก็เป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้เครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ มีระบบเสียงที่สมบูรณ์ แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  7. สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สิ่งที่ต้องการให้เกิดการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ คุณธรรม เข้าด้วยกัน)ต่อวงจรตรวจสอบการออสซิลเลทของเครื่องขยายเสียง แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  8. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  9. เครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟเครื่องเสียงชนิดไฮ – ไฟ ( High Fidelity ; HI – FI ) หมายถึง เครื่องเสียงที่ให้สัญญาณเสียงออกมาเหมือนเสียงเดิมทุกประการโดยไม่ผิดเพี้ยนและไม่มีเสียงแทรกแซง ให้สัญญาณเสียงออกมาครอบคลุมทั้งเสียงทุ้มและเสียงแหลม แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  10. ส่วนประกอบที่ทำให้เครื่องเสียงเป็นชนิด ไฮ – ไฟเครื่องส่งวิทยุ จะต้องสามารถส่งสัญญาณเสียงออกมาครอบคลุมย่านความถี่เสียงได้เครื่องกำเนิดสัญญาณเสียง จะต้องสามารถให้กำเนิดสัญญาณเสียงครอบคลุมย่านความถี่เสียงได้เครื่องขยายเสียง จะต้องสามารถขยายสัญญาณเสียงได้ครอบคลุมย่านความถี่เสียงตัวเปลี่ยนสัญญาณเสียง จะต้องสามารถให้การตอบสนองความถี่ ครอบคลุมย่านความถี่เสียงได้ แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  11. ความผิดเพี้ยนที่มีผลต่อเครื่องเสียงไฮ – ไฟความผิดเพี้ยนจะปรากฎอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ กัน ดังนี้ความผิดเพี้ยนเกิดจากการตอบสนองความถี่ ( Frequency response distrotion )สาเหตุมาจากการที่เครื่องเสียงไม่สามารถเปล่งเสียงออกมาครอบคลุมทุกความถี่เสียงที่ป้อนเข้าไป การแก้ไขอย่างหนึ่งก็คือ จะต้องพยายามสร้างไมโครโฟนและลำโพงให้สามารถตอบสนองความถี่เสียงได้ครอบคลุมย่านความถี่เสียงนั้น ๆ แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  12. เสียงรบกวน ( Noise ) ทำให้คุณภาพเสียงลดลง และทำให้เกิดความผิดเพี้ยน2. ความผิดเพี้ยนจากฮาโมนิคและอินเตอร์มอดูเลชั่น ( Harmonic distortion and intermodulation ) ผลจากความถี่ฮาโมนิคจะทำให้เกิดการออสซิลเลทและเกิดการผิดเพี้ยนอย่างมาก เช่น มีเสียงแปลกปลอมดังวู้ ๆ บางครั้งอาจไม่ได้ยินเสียงจากลำโพง แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  13. การต่อวงจรตรวจสอบการออสซิลเลทของเครื่องขยายเสียงการต่อวงจรตรวจสอบการออสซิลเลทของเครื่องขยายเสียง แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  14. ความผิดเพี้ยนจากสัญญาณกระโชกชั่วขณะ (transient distortion ) เกิดขึ้นเนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตเสียงไม่สามารถทำงานได้ทันตามการเกิดขึ้นของสัญญาณเสียงที่เกิดขึ้นมาทันทีในระยะเวลาสั้น ๆ อีกสาเหตุหนึ่งคือเกิดจากสัญญาณไฟสลับกระโชก ซึ่งเกิดขึ้นจากการ ปิด – เปิด เครื่องขยายเสียง แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  15. การใส่ C , R คร่อมสวิทช์เพาเวอร์เพื่อป้องกันสัญญาณป๊อปนอยส์ แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  16. ฟลัทเทอร์และวาว ( Flutter and wow ) จะเกิดขึ้นกับเครื่องเล่นแผ่นเสียงและเครื่องเล่นเทปที่มีการเคลื่อนที่ไม่สม่ำเสมอ เดี๋ยวช้าเดี๋ยวเร็ว โดยจะทำให้เกิดเสียงประหลาดขึ้นเรียกว่าฟลัทเทอร์และวาว แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  17. ทำแบบทดสอบหลังเรียน แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  18. คำถาม - คำตอบ Show & Share แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

  19. THE ENDUNIT 1 แผนกอิเล็ทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

More Related