1 / 37

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน

ธาตุ. โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร. โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน. ธาตุ. สารบริสุทธิ์เนื้อเดียว มีองค์ประกอบเพียง อย่างเดียว ไม่สามารถแยกให้เป็นสารบริสุทธิ์ ที่เล็กลงได้อีกโดยวิธีทางเคมีหรือกายภาพ มีสมบัติเฉพาะตัว มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที่ ธาตุอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสังเคราะห์ขึ้น.

webb
Download Presentation

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ธาตุ โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน ธาตุ

  2. ธาตุ • สารบริสุทธิ์เนื้อเดียว มีองค์ประกอบเพียง อย่างเดียว ไม่สามารถแยกให้เป็นสารบริสุทธิ์ ที่เล็กลงได้อีกโดยวิธีทางเคมีหรือกายภาพ • มีสมบัติเฉพาะตัว มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที่ • ธาตุอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือสังเคราะห์ขึ้น ธาตุ

  3. ชนิดของธาตุ • ธาตุในธรรมชาติมี 83 ธาตุ • นักวิทยาศาสตร์สังเคราะห์ขึ้น 36 ธาตุ • ธาตุที่พบมาในธรรมชาติ ได้แก่ ออกซิเจน และซิลิคอน • ธาตุที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของร่างกายคน คือ ออกซิเจนและคาร์บอน ธาตุ

  4. สมบัติของธาตุ ธาตุ

  5. สมบัติของธาตุ ธาตุ

  6. สมบัติของธาตุ ธาตุ

  7. สมบัติของธาตุ ธาตุ

  8. สมบัติบางประการของธาตุสมบัติบางประการของธาตุ ธาตุ

  9. จงระบุประเภทว่าธาตุต่อไปเป็นโลหะ อโลหะ หรือกึ่งโลหะ โซเดียม ฟอสฟอรัส โบรอน ปรอท ซิลิคอน โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ โลหะ กึ่งโลหะ ธาตุ

  10. ตารางธาตุในปัจจุบัน www.chemicool.com\index.html ธาตุ

  11. ธาตุ

  12. ธาตุ

  13. ธาตุ

  14. ธาตุ

  15. ธาตุ

  16. ธาตุ

  17. ธาตุ

  18. ธาตุ

  19. ธาตุกึ่งโลหะ ธาตุ

  20. แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก “ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียส และรอบๆ นิวเคลียสมีกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรูปทรงต่างๆ ตามระดับพลังงานของอิเล็กตรอนห่อหุ้มอยู่ บริเวณกลุ่มหมอกทึบมีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณที่กลุ่มหมอกจาง ” ธาตุ

  21. สมบัติของอนุภาคมูลฐานบางชนิดของอะตอมสมบัติของอนุภาคมูลฐานบางชนิดของอะตอม 1 amu = 1.66 x 10-24 g ธาตุ

  22. เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง จำนวนโปรตอนที่อยู่ภายในนิวเคลียส แต่เนื่องจากในอะตอมที่เป็นกลาง จำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน ดังนั้นเลขอะตอมจึงอาจหมายถึงจำนวนอิเล็กตรอนก็ได้ ใช้สัญลักษณ์ Z แทน ธาตุ

  23. เลขอะตอม (Atomic number) ธาตุ

  24. เลขมวล (Mass number) หมายถึง ผลบวกของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอนภายในนิวเคลียสใช้สัญลักษณ์ A แทน ธาตุ

  25. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ บอกจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม มีหลักการเขียนดังนี้ ให้ X เป็นสัญลักษณ์ของธาตุ เลขมวล AZX เช่น 199F เลขอะตอม ธาตุ

  26. ไอโซโทป (Isotope) คือ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน มีเลขอะตอมเท่ากันแต่มีเลขมวลต่างกัน หรือมีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันแต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ธาตุ

  27. ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป 11H โปรเทียม 21H ดิวทีเรียม 31H ทริเทียม p = 1 e = 1 n = 0 , 1 , 2 ธาตุ

  28. 168O, 178O, 188O • จำนวนโปรตอน • จำนวนอิเล็กตรอน • จำนวนนิวตรอน 8 8 8 , 9 , 10 ธาตุ

  29. 3517Cl, 3617Cl, 3717Cl • จำนวนโปรตอน • จำนวนอิเล็กตรอน • จำนวนนิวตรอน 17 18 18 19 20 ธาตุ

  30. ธาตุกัมมันตรังสี ธาตุกัมมันตรังสี   หมายถึง  ธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รังสีได้เอง อองตวน อองรี แบ็กเคอแรล เป็นคนแรกที่ค้นพบว่าธาตุบางชนิดโดยเฉพาะธาตุที่มีมวลอะตอมมาก สามารถปล่อยรังสีบางชนิดออกมา เมื่อเขานำฟิล์มถ่ายรูปไว้ใกล้ๆ เกลือโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต และมีกระดาษดำหุ้มปรากฎว่าเกิดรอยดำบนแผ่นฟิล์มเหมือนถูกแสง ธาตุ

  31. ธาตุกัมมันตรังสี ปรากฎการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องเรียกว่า กัมมันตภาพรังสี ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของไอโซโทปที่ไม่เสถียร ธาตุ

  32. ธาตุกัมมันตรังสี รังสีดังกล่าวเป็นรังสีที่ถูกปล่อยออกมาจากนิวเคลียสของธาตุ เมื่อนิวเคลียสของธาตุนั้นอยู่ในสภาวะไม่เสถียร สภาวะไม่เสถียรเกิดจากส่วนประกอบภายในของนิวเคลียสไม่เหมาะสม หมายความว่า ในนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนซึ่งมีประจุบวกและนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า สัดส่วนของจำนวนโปรตอนต่อจำนวนนิวตรอนไม่เหมาะสมจนทำให้ธาตุนั้นไม่เสถียร ธาตุนั้นจึงปล่อยรังสีออกมาเพื่อปรับตัวเองให้เสถียร ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ธาตุ

  33. รังสีที่ธาตุกัมมันตรังสีปล่อยมาอาจเป็นรังสีแอลฟา รังสีบีตา หรือรังสีแกมมา ซึ่งมีสมบัติต่างกัน รังสีแอลฟา   เป็นนิวเคลียสของฮีเลียม มีโปรตอนและนิวตรอนอย่างละ 2 อนุภาค มีประจุไฟฟ้า +2 มีอำนาจทะลุทะลวงต่ำมาก กระดาษเพียงแผ่นเดียวหรือสองแผ่นก็สามารถกั้นได้ รังสีบีตา  คือ อนุภาคที่มีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน คือ มีประจุไฟฟ้า -1 มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน มีอำนาจทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า สามารถผ่านแผ่นโลหะบางๆ เช่น แผ่นตะกั่วหนา 1 mm มีความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง ธาตุ

  34. รังสีแกมมาเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก ไม่มีประจุ ไม่มีมวล มีอำนาจทะลุทะลวงสูงสุด สามารถทะลุผ่านแผ่นไม้ โลหะและเนื้อเยื่อได ้ แต่ถูกกั้นได้โดยคอนกรีตหรือแผ่นตะกั่วหนา ธาตุ

  35. ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสีประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี 1. ด้านธรณีวิทยา  มีการใช้ C-14 คำนวณหาอายุของวัตถุโบราณ หรืออายุของซากดึกดำบรรพ์ 2. ด้านการแพทย์ ใช้รักษาโรคมะเร็ง ในการรักษาโรคมะเร็งบางชนิด ทำได้โดยการฉายรังสีแกมมาที่ได้จาก โคบอลต์-60 เข้าไปทำลายเซลล์มะเร็ง โซเดียม-24 ฉีดเข้าไปในเส้นเลือด เพื่อตรวจการไหลเวียนของโลหิต โดย โซเดียม-24 จะสลายให้รังสีบีตาซึ่งสามารถตรวจวัดได้ และสามารถบอกได้ว่ามีการตีบตันของเส้นเลือดหรือไม่ ธาตุ

  36. ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี (ต่อ) Au-198 ใช้ตรวจตับและไขกระดูก I-131 ใช้ศึกษาความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ 3. ด้านเกษตรกรรม ใช้ P-32 ศึกษาความต้องการปุ๋ยของพืช 4. ด้านการถนอมอาหาร ใช้ Co-60 ในการถนอมอาหารให้มีอายุยาวนานขึ้น เพราะรังสีแกมมาช่วยในการทำลายแบคทีเรีย ธาตุ

  37. อันตรายของธาตุกัมมันตรังสี (ต่อ) เซลล์บริเวณที่ได้รับรังสีมากเกินขนาดตาย และต้องตัดอวัยวะนั้นออก ธาตุ

More Related