3.33k likes | 9.53k Views
งานคุ้มครองผู้บริโภค. ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. ภก.วันชัย นนทกิจไพศาล. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง. โครงสร้างงาน คบส. ใน รพ.สต. ข้อมูลพื้นฐาน. สถานประกอบการ. ร้านชำ. ภาคีเครือข่าย. คลินิก. อสม. อย.น้อย. ตลาดนัด. ร้านยา. กลุ่ม คบ. เครือข่ายต่างๆ. ผลิตอาหาร. ฯลฯ.
E N D
งานคุ้มครองผู้บริโภค ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภก.วันชัย นนทกิจไพศาล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง
โครงสร้างงาน คบส. ใน รพ.สต.
ข้อมูลพื้นฐาน สถานประกอบการ ร้านชำ ภาคีเครือข่าย คลินิก อสม. อย.น้อย ตลาดนัด ร้านยา กลุ่ม คบ. เครือข่ายต่างๆ ผลิตอาหาร ฯลฯ อื่นๆ : วิทยุชุมชน ผู้นำชุมชน หอกระจายข่าว
ข้อมูลผลงาน / ระบบรายงาน
ตัวอย่างการ Empower ประชุมกลุ่ม ทำแผน คบ. ร่วมกับชุมชน อบรมเครือข่าย มีกิจกรรมตรวจร่วมกัน พัฒนาศูนย์เรียนรู้ ประชุมผู้ประกอบการ กิจกรรมรณรงค์ ศึกษาดูงาน
ค้นหาความเสี่ยง • การวิเคราะห์จากข้อมูลพื้นฐาน / วิชาการ / ผลงาน • ประสบการณ์ของ จนท. เอง • เรียนรู้จากประสบการณ์ของ รพ. สสอ. สสจ. เครือข่าย ฯลฯ • สำรวจสถานการณ์ปัจจุบัน • เรียนรู้ระหว่างทำงาน (รายงานอุบัติการณ์)
ประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
หลีกเลี่ยง กฎหมาย ให้ความรู้ ตรวจบ่อยๆ ส่งต่อ ตักเตือน เฝ้าระวัง
ผลลัพธ์งาน คบส. ใน รพ.สต.
ความรู้เบื้องต้นงานคุ้มครองผู้บริโภคความรู้เบื้องต้นงานคุ้มครองผู้บริโภค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภก.วันชัย นนทกิจไพศาล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง
ยาแผนปัจจุบัน แบ่งเป็น 7ประเภท
ยาแผนปัจจุบัน แบ่งเป็น 7ประเภท
ยาทุกชนิดต้องมีทะเบียนยา 1G 252/2548
1 G 2/2548 2A 101/2548 1 A B C G HK 2
R YONG พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 มาตรา 12 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำสั่งฯ ซึ่งยาแผนปัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต โทษ มาตรา 102 จำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท
R YONG พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 มาตรา 46 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต ขาย หรือนำสั่งฯ ซึ่งยาแผนโบราณ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต โทษ มาตรา 111 จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำ+ปรับ
R YONG ร้านชำขายยาได้ไหม ? ฉลากต้องระบุ "ยาสามัญประจำบ้าน"
ร้านชำทั่วไป ขายได้เฉพาะ “ยาสามัญประจำบ้าน”
ความรู้เบื้องต้นด้านอาหารความรู้เบื้องต้นด้านอาหาร
ผลิตภัณฑ์อาหารและยา อาหาร หลายชนิดมีเครื่องหมาย อย. 21-2-02246-2-0001
รายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหารรายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหาร R YONG เลขสารบบอาหาร ประกอบด้วยตัวเลข 13 หลัก แสดงข้อมูลสำคัญ 2 ชุด ได้แก่- ชุดข้อมูลชุดแรก (X) คือข้อมูลสถานที่ประกอบการ ได้แก่ตัวเลข 8 หลักแรก- ชุดข้อมูลชุดหลัง (Y) คือข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ได้แก่ตัวเลข 5 หลักหลัง เลขสารบบอาหารมีข้อมูลอะไรบ้าง XX - X - XXXXX - Y - YYYY แสดงถึงจังหวัดที่ตั้งของสถานที่ประกอบการนั้น ๆใช้รหัสตัวเลข 2 หลักแทนอักษรย่อ เช่น 12 แทนจังหวัดนนทบุรี (ดูตารางแสดงรหัสจังหวัดประกอบ) 1
รายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหารรายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหาร R YONG แสดงถึง สถานะของสถานที่ประกอบการและหน่วยงานที่อนุญาตสถานที่นั้น ๆใช้รหัสตัวเลข 1 หลัก : 1. หมายถึง สถานที่ผลิต 2. หมายถึง สถานที่ผลิต 3. หมายถึง สถานที่นำเข้า 4. หมายถึง สถานที่นำเข้า 2 อนุญาตโดย อ.ย. (เลขคี่) อนุญาตโดย จังหวัด (เลขคู่) XX - X - XXXXX - Y - YYYY 3 เลขประจำสถานที่ ได้จากเลขที่ใบอนุญาตผลิตอาหารหรือเลขที่ใบอนุญาตนำหรือสั่งอาหาร หรือเลขที่ประจำสถานที่ผลิตที่ไม่ เข้าข่ายเป็นโรงงาน (แล้วแต่กรณี) ที่ได้รับอนุญาตแล้ว ใช้รหัสตัวเลข 5 หลัก โดย 2 หลักหลังเป็นเลขท้ายของปีพ.ศ.ที่อนุญาตสถานที่ดังกล่าว
รายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหารรายละเอียดข้อมูลที่แสดงบนเลขสารบบอาหาร แสดงถึงหน่วยงานที่อนุญาตผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างจากหน่วยงานที่อนุญาตสถานที่ก็ได้ ใช้รหัสตัวเลข 1 หลัก1. หมายถึง ผลิตภัณฑ์นั้นอนุญาต โดย อ.ย.2. หมายถึง ผลิตภัณฑ์นั้นอนุญาต โดย จว. (รวม กทม.) 4 XX - X - XXXXX - Y - YYYY 5 เลขลำดับที่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวของสถานที่นั้น ๆ ที่ผ่านการอนุญาตจากหน่วยงานที่ประเมินผลิตภัณฑ์ข้างหน้า ( ตาม 4 ) เรียงตามลำดับจากน้อยไปหามาก- ใช้รหัสตัวเลข 4 หลัก เช่น ลำดับที่ 1 ใช้ 0001 , ลำดับที่ 99 ใช้ 0099
คำแนะนำในการเก็บรักษาคำแนะนำในการเก็บรักษา ชื่ออาหาร วิธีรับประทาน คำเตือน ปริมาณสุทธิ เครื่องหมาย “อย” ฉลาก แต่งกลิ่น(รส) ใช้วัตถุกันเสีย ควรบริโภคก่อน อื่นๆ หมดอายุ ผลิต ชื่อ-ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือ ผู้นำเข้าและประเทศผู้ผลิต ใช้วัตถุปรุงแต่งอาหาร เจือสี ส่วนประกอบ
R YONG อาหารที่ไม่ต้องมี อย. พืช : ธัญพืช ถั่ว งา ข้าวเกรียบ (ไม่ทอด) พริกป่น น้ำเต้าหู้(ไม่เป็นโรงงาน) ฯลฯ สัตว์ : ปลาดิบ ปลาทูนึ่ง ปลาร้า ปลาส้ม กะปิ น้ำผึ้ง(ไม่เป็นโรงงาน) ฯลฯ * กรณีเป็นโรงงาน ต้องขออนุญาตผลิต *
ความรู้เบื้องต้นด้านสถานพยาบาลความรู้เบื้องต้นด้านสถานพยาบาล
ข้อสังเกตคลินิกที่ถูกต้องตามกฎหมายข้อสังเกตคลินิกที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ความรู้เบื้องต้นด้านโฆษณาความรู้เบื้องต้นด้านโฆษณา การโฆษณา หมายถึง การกระทำไม่ว่าวิธีใดๆ ให้ประชาชนเห็นหรือทราบข้อความเพื่อประโยชน์ทางการค้า (พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522)
โฆษณาที่ต้องขออนุมัติข้อความ ภาพ เสียง
R YONG การโฆษณาอาหาร ห้ามโฆษณารักษาโรค
R YONG การโฆษณาอาหาร ต้องขออนุญาต เช่น ฆอ. 1/2553
R YONG ตัวอย่างคดี อย. บริษัท เมก้า ไลฟ์ไซแอนซ์ พีทีวาย จก. จัดทำแผ่นพับโฆษณายา “Natural Vitamin C” ว่าป้องกันหวัด ภูมิแพ้ เสริมสร้างภูมิต้านทานโรค ยืดอายุผู้ป่วยมะเร็ง ซึ่งข้อความยังไม่ได้รับอนุญาต และเป็นการโฆษณาสรรพคุณยาว่าสามารถบำบัด บรรเทา รักษาหรือป้องกันโรคหรืออาการของโรคที่รัฐมนตรีประกาศห้ามโฆษณา(โรคมะเร็ง) ปรับ 40,000 บาท เมื่อ 17 มิ.ย.51
R YONG ตัวอย่างคดี อย. บริษัท ยูนิลิเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง จก. โฆษณาสรรพคุณผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร “อาวียองซ์” ทางเวปไซต์ www.unilivernetwork-th.comข้อความยังไม่ได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปรับ 2,000 บาท เมื่อ 12 ก.พ.51
R YONG การโฆษณายา ต้องขออนุญาต เช่น ฆท. 1/2553
R YONG การโฆษณา ยา ห้ามโฆษณาโรค มะเร็ง เบาหวาน ความดัน บำรุงกาม ฯลฯ
วัตถุอันตราย ทุกชนิดต้องมีเครื่องหมาย อย. วอส.6/2542
R YONG เครื่องสำอางผสมสารห้ามใช้