1 / 24

II. การสลายกรดอะมิโน

II. การสลายกรดอะมิโน. ร่างกายจะใช้กรดอะมิโนเป็นแหล่งให้พลังงาน เมื่อ - มีการรับประทานอาหารโปรตีนมากเกินกว่าจะใช้สังเคราะห์โปรตีนหรือชีวโมเลกุลอื่น - เมื่อร่างกายขาดอาหารหรือในผู้ป่วยเบาหวาน. 1. Disposal of Nitrogen 2. Degradation of C-skeleton. ปฏิกิริยาของไนโตรเจนในกรดอะมิโน.

waylon
Download Presentation

II. การสลายกรดอะมิโน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. II. การสลายกรดอะมิโน ร่างกายจะใช้กรดอะมิโนเป็นแหล่งให้พลังงาน เมื่อ - มีการรับประทานอาหารโปรตีนมากเกินกว่าจะใช้สังเคราะห์โปรตีนหรือชีวโมเลกุลอื่น - เมื่อร่างกายขาดอาหารหรือในผู้ป่วยเบาหวาน 1. Disposal of Nitrogen 2. Degradation of C-skeleton

  2. ปฏิกิริยาของไนโตรเจนในกรดอะมิโนปฏิกิริยาของไนโตรเจนในกรดอะมิโน Deamination 1. Transamination 2. Oxidative deamination (Dehydrogenation of Glu) 3. Non-oxidative deamination Urea cycle

  3. Nitrogenous waste

  4. การกำจัดอะตอมไนโตรเจนในกรดอะมิโนการกำจัดอะตอมไนโตรเจนในกรดอะมิโน

  5. ปฏิกิริยาของ C-skeletonในกรดอะมิโน

  6. การกำจัดหมู่อะมิโน (Deamination) 1. Transamination • เป็นปฏิกิริยาหลักของกรดอะมิโนในการกำจัดหมู่อะมิโน • ยกเว้น Lys, Pro, Thr • ส่วน His, Ser, Phe, Met เกิด transamination น้อย Amino acid 1 Alpha-keto acid 2 Alpha-keto acid 1 Amino acid 2

  7. a-keto acids OXALOACETATE Pyruvate Aspartic Acid COO- | C=O | CH2 | COO- COO- | C=O | CH3 COO- | C=O | R Alanine COO- | C-NH2 | CH2 | COO- a-amino acids COO- | C-NH2 | CH3 COO- | C-NH2 | R

  8. Transamination

  9. Amino Transferases หรือ Transaminases to a-ketoglutarate ------>Glu Glutamate Aminotransferase Liver, heart disease Aspartate Aminotransferase (AST) Alanine Aminotransferase (ALT) Tyrosine Aminotransferase Branched Chain AA Aminotransferase (Leu, Ile, Val) Serine-PyruvateAminotransferase

  10. Amino Transferases หรือ Transaminases pyridoxal -P pyridoxamine-P

  11. Amino Transferases หรือ Transaminases PLP Bhagavan NV, p.337, 2002

  12. ตัวอย่างยาที่ออกฤทธิ์โดยการจับกับ PLP Eflornithine, DFMO

  13. การกำจัดหมู่อะมิโน (Deamination) 2. Oxidative deamination : 2.1 Glutamate dehydrogenation Glu dehydrogenase ต้องการ NAD หรือ NADP coenzyme, mitochondria ของ liver , muscle, heart, kidney

  14. ในสมอง การกำจัด NH4+จะเป็นการสร้าง Gln ด้วย Gln synthetaseและขนส่งออกนอกสมอง ซึ่ง Gln--> Glu (glutaminase) Murray RK, et.al. p.303, 1996

  15. การกำจัดหมู่อะมิโน (Deamination) 2. Oxidative deamination : 2.2 D-amino acid oxidase D- amino acid oxidase (liver, kidney) ต้องการ FADcoenzyme, activity สูง L- amino acid oxidase (liver, kidney) ต้องการ FMN coenzyme, activity ต่ำ Bhagavan NV, p.336, 2002

  16. การกำจัดหมู่อะมิโน (Deamination) 3. Non-Oxidative deamination : amino acid dehydratase (PLP)กำจัดหมู่อะมิโนในกรดอะมิโนที่มีหมู่ -OH เช่น Ser, Thr ได้เป็น pyruvate และ alpha-ketobutyrate ตามลำดับ 4. Bacterial urease http://arethusa.unh.edu/bchm752/ppthtml/mar7/Mar7/sld026.htm

  17. สรุปแหล่งของ NH4+ Liver Marks DB,et.al, p.585, 1996

  18. อาการ • ซึม (lethargy) สั่น (tremors) พูดรัว ตาพร่า อาเจียนเมื่อรับประทานอาหารโปรตีน โคม่า และอาจถึงแก่ความตาย • มักพบในผู้ป่วย • ที่มีพยาธิสภาพที่ตับ เช่น ตับแข็ง ตับอักเสบ • พิษจากคาร์บอนเตตราคลอไรด์ หรือ • เป็นบิดชนิดมีตัว (amebiasis) • หรือพบในผู้ที่มีความผิดปกติของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการขับออกของยูเรียซึ่งเป็นรูปที่เปลี่ยนแปลงของแอมโมเนีย Ammonia intoxication

  19. กลไก • เมื่อมีแอมโมเนียสูง การทำงานของ glutamine synthetase และ Glu dehydrogenase จะทำให้เกิดการสร้างกลูตามีนและกลูตาเมตเพิ่มขึ้นเพื่อลดปริมาณแอมโมเนีย แต่ขณะเดียวกันจะลดการสร้างตัวกลางของวัฏจักรเครบส์ ทำให้สมองขาดพลังงาน • กลูตาเมตและแอสปาร์เตตเป็นสารสื่อประสาท จึงส่งผลต่อการทำงานของสมองได้ Ammonia intoxication

  20. 1 CPS I 2 Orn transcarbomoylase Urea Cycle 3 argininosuccinate synthase 5 arginase 4 argininosuccinase

  21. Urea Cycle Citrullline, ornithine ขนส่งออกและเข้า mitochondria โดยอาศัย mitochondral inner membrane transport systems

  22. N-acetylglutamate (N-AcGlu) : activator of CPSI การควบคุม urea cycle Glu Acetyl CoA Synthetase Arg CoA N-AcGlu CPS I

  23. 1. Hyperammonemia Type I (CPS I) 2. Hyperammonemia Type II (Orn transcarbomoylase) [X-linked gene]--->female check with allopurinol 3. Citrulilinemia (argininosuccinate synthase) 4. Argininosuccinic aciduria (argininosuccinase) 5. Hyperargininemia (arginase) ~ lysine cystinuria Disorders related to urea cycle

  24. Orn transcarbomoylase defect-Allopurinol Marks DB,et.al, p.587, 1996

More Related