110 likes | 295 Views
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย. ทศพล สมพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการ. ตอบคำถามตัวเอง. 1. ทำไมจึงต้องทำเรื่องนี้ ? เกิดอะไรขึ้น ? ปรากฏการณ์นี้น่าสนใจตรงไหน ? อยากรู้อะไร ? สิ่งที่อยากรู้มีความสำคัญอย่างไร ? 2. เมื่ออยากรู้ (ให้ลึกซึ้งในปรากฏการณ์นี้) จะมีวิธีการหาความจริงได้อย่างไร ?
E N D
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ทศพล สมพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการ
ตอบคำถามตัวเอง 1. ทำไมจึงต้องทำเรื่องนี้? • เกิดอะไรขึ้น? • ปรากฏการณ์นี้น่าสนใจตรงไหน? • อยากรู้อะไร? • สิ่งที่อยากรู้มีความสำคัญอย่างไร? 2. เมื่ออยากรู้ (ให้ลึกซึ้งในปรากฏการณ์นี้) จะมีวิธีการหาความจริงได้อย่างไร? • มีอะไรต้องศึกษาบ้าง? • จะหาหลักฐานได้อย่างไร? • จะพิสูจน์ความจริงได้อย่างไร? ความสำคัญของปัญหา วิธีการศึกษา
ปรากฏการณ์ แนวคิดทฤษฎี ประเด็นปัญหาการวิจัย ความอยากรู้ สมมติฐาน วิธีวิจัย วิธีหาหลักฐาน ทดสอบ/พิสูจน์สมมติฐาน ตัวแปรที่ศึกษา เครื่องมือรวบรวมข้อมูล สรุปลงความเห็น (คำตอบ)
การเขียนข้อเสนอวิจัยที่ดีและการทำวิจัยที่ดี ไม่ใช่เพียงการเขียนข้อเสนอที่ดีเท่านั้น ซึ่งการเขียนข้อเสนอวิจัยที่ดี มุ่งเน้นสำนวนโวหาร จนทำให้เชื่อว่าเป็นข้อเสนอวิจัยที่ดี แต่การเขียนข้อเสนอวิจัยที่ดี มีจุดกำเนิดหรือมีพื้นฐานมาจากความคิดที่ดี สื่อสารออกมาในรูปที่เรียกว่า “แนวคิดในการวิจัย” (Concept Paper)
การพิสูจน์หาความจริง (Verification) • ตัดสิน • ลงความเห็น • สรุปผล