300 likes | 414 Views
แพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก. หลักการและเหตุผล. มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดของสตรีในประเทศไทย อุบัติการของมะเร็งปากมดลูกประมาณ 23.4 คนต่อ ประชากรหญิง 100,000 คน
E N D
แพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแพทย์กับการให้ความสำคัญและตระหนักในการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หลักการและเหตุผล • มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดของสตรีในประเทศไทย • อุบัติการของมะเร็งปากมดลูกประมาณ 23.4 คนต่อ ประชากรหญิง 100,000 คน • แผนพัฒนาการสาธารณสุขในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540-2544
ทบทวนวรรณกรรม • จากการศึกษาในผู้หญิง 15,000 คน ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลาม พบว่ามี 4,800 คนที่เสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก • มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในมะเร็ง 5 อันดับแรกของสตรีไทย
ข้อมูลย้อนหลังของผู้ป่วยจำนวน 128 รายที่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก พบว่ามีผู้ป่วยเพียง 13 รายที่เคยรับการตรวจ Pap smear มาก่อน วิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยวิธี Pap smear เป็นวิธีการตรวจคัดกรองที่ดี
ระยะห่างของ จำนวนการทำ การลดลงของการตรวจ (ปี) Pap smear ในช่วงชีวิต อุบัติการสะสม (%) 1 30 93.5 2 15 92.5 3 10 90.8 5 6 83.6 10 3 64.1
ประสิทธิภาพในการตรวจ Pap smear PGY 1 80% PGY 2 89% PGY 3 89% Faculty physicians 93%
คำถามวิจัยหลัก บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ตระหนักถึงการส่งเสริมของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกหรือไม่ ?
คำถามวิจัยรอง • บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกหรือไม่ • การเปรียบเทียบการตระหนักถึงการส่งเสริมของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในบัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรระหว่างเพศหญิง กับเพศชายมีความแตกต่างกันหรือไม่ • หลักสูตรแพทยศาสตรศึกษาได้มุ่งเน้นให้บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพียงพอหรือไม่
คำถามวิจัยรอง • บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่มีประวัติครอบครัวหรือคนใกล้ชิดป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก ให้ความสำคัญต่อการตรวจมะเร็งปากมดลูกแตกต่างกับบัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ไม่มีญาติและคนใกล้ชิดเป็นมะเร็งปากมดลูกหรือไม่ • บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตระหนักถึงความสำคัญต่อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแตกต่างกันหรือไม่
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความตระหนักของแพทย์ในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรแพทยศาสตรศึกษาได้การมุ่งเน้นให้เห็นถึงความสำคัญและการส่งเสริมของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ผลที่คาดว่าจะได้รับ • หลักสูตรแพทยศาสตรศึกษามุ่งเน้นให้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น • ทราบทัศนคติของบัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6 เกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อนำไปใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงต่อไป
วิธีดำเนินการวิจัย 1. Qualitative study : In – depth interview Target population : อาจารย์แพทย์ในภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน เวชศาสตร์ครอบครัว พยาธิวิทยา และสูติ-นรีเวชศาสตร์ Sampling technique : Purposive sampling โดยสุ่มอาจารย์แพทย์ในภาควิชาและ 1 ท่าน Sample sign : 4 ท่าน
วิธีดำเนินการวิจัย 2. Cross-sectional Descriptive study Target population : บัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยนเรศวร Sampling techinque : Non - probabilistic sampling Sample size : 120 คน
อัตราการตอบกลับร้อยละ 41.18 • จากคำถามข้อ 8 .” ท่านคิดว่าการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขไทยหรือไม่ “ มีผู้เห็นด้วยทั้งสิ้น 49 คน คิดเป็นร้อยละ 100
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวจุดบกพร่องที่ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกยังคงสูงอยู่ ทั้งที่มีการตรวจคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูก
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูกโดยแบ่งเป็นเพศชายและเพศหญิงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของแพทย์ในการช่วยรณรงค์การป้องกันมะเร็งปากมดลูกโดยแบ่งเป็นเพศชายและเพศหญิง
แสดงความถี่ของการซักประวัติเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ป่วยหญิง อายุระหว่าง 30 – 65 ปี ที่ไม่ได้ป่วยมาด้วยอาการทางนรีเวช
แสดงความถี่ของการซักประวัติเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ป่วยหญิง อายุระหว่าง 30 – 65 ปี ที่ไม่ได้ป่วยมาด้วยอาการทางนรีเวชโดยแบ่งเป็นบัณฑิตแพทย์ และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6
แสดงความถี่ของการซักประวัติเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในผู้ป่วยหญิง อายุระหว่าง 30 – 65 ปี ที่ไม่ได้ป่วยมาด้วยอาการทางนรีเวชโดยแบ่งเพศชายและเพศหญิง
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการมุ่งเน้นให้บัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 ของหลักสูตรแพทยศาสตรศึกษาของมหาวิทยาลัยนเรศวร
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาควิชาที่ควรเป็นผู้เน้นให้นิสิตเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาควิชาที่ควรเป็นผู้เน้นให้นิสิตเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สรุปและวิจารณ์์ • ข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกของอาจารย์ใน 4 ภาควิชา ภาควิชาละ 1 ท่าน • ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ให้ข้อมูลโดยบัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6 มหาวิทยาลัยนเรศวร • จากการวิจัยครั้งนี้ได้ใช้ข้อมูลจากบัณฑิตแพทย์ที่ปฏิบัติงานอยู่ตามโรงพยาบาลต่างๆ ทำให้เกิดปัญหาในการติดต่อสื่อสาร
สรุปและวิจารณ์ • ข้อมูลส่วนใหญ่จึงได้มาจากบัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ชั้นปี 6 ที่ปฏิบัติงานอยู่ ณ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 85.71 ของข้อมูลทั้งหมด • งานวิจัยของศิลดา วงศ์ษาและรติกร เพ็ชรประกอบ พบว่าจากผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูก 128 รายที่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก มีผู้ป่วยเพียง 13 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.16
สรุปและวิจารณ์ • บัณฑิตแพทย์และนิสิตแพทย์ส่วนใหญ่มีความตระหนักในหลักการแต่ในทางปฏิบัติจริงมีทำเป็นส่วนน้อย • คำถามที่ว่าควรจะบรรจุข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นส่วนหนึ่งของการซักประวัติของสตรีที่มีอายุ 35 – 65 ปีนั้นพบว่าร้อยละ 65.30 เห็นสมควรด้วย ซึ่งควรจะมีการศึกษาถึงความเป็นไปได้ของประเด็นนี้ในอนาคต
สรุปและวิจารณ์ • ข้อมูลต่างๆ ที่แสดงอยู่ในงานวิจัยนี้เป็นข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นถึงแนวคิดของแพทย์ต่อความตระหนักและการให้ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
กิตติกรรมประกาศ การวิจัยในครั้งนี้คณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย์นายแพทย์ศุภสิทธิ์พรรณารุโณทัยที่กรุณาช่วยเหลือให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆจนทำให้งานวิจัยนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีและขอขอบพระคุณอาจารย์ในภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนเวชศาสตร์ครอบครัวพยาธิวิทยาและสูติ-นรีเวชศาสตร์ที่กรุณาให้ความร่วมมือในการให้สัมภาษณ์เชิงลึกเป็นอย่างดียิ่ง ท้ายที่สุดนี้คณะผู้วิจัยขอขอบคุณพี่รุ่น 1 รุ่น 2 และรุ่น 3 ของคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามและขอบคุณพี่ๆเจ้าหน้าที่ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาทุกท่านที่คอยช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกมาให้ตลอด