140 likes | 300 Views
คำรับรองการปฏิบัติราชการ. คำรับรองการปฏิบัติราชการ. เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการ พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาท ภารกิจและขนาดให้เหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบบประชาธิปไตย. มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล
E N D
คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ • เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้นปรับบทบาท ภารกิจและขนาดให้เหมาะสมยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าเกณฑ์สากลตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบบประชาธิปไตย
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ แสดงผลงานที่บรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ แผนปฏิบัติราชการตามที่ได้ รับงบประมาณมาดำเนินการ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการในการบริการที่มี คุณภาพสร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ 20% 10% 50% 15% มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการ ปฏิบัติราชการ เช่น การลดรอบ ระยะเวลาการให้บริการ การบริหารงบประมาณ เป็นต้น มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการ บริหารการเปลี่ยนแปลงองค์กร และการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความพร้อมในการ สนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ กรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประกอบด้วย 4 มิติ 1. ด้านประสิทธิผล 2. ด้านคุณภาพ 3. ด้านประสิทธิภาพ 4. ด้านพัฒนาองค์กร
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management) 3. Balanced Scorecardคืออะไร ความสมดุล : ช่วยให้มององค์กรจากทุกมุมอย่างครบถ้วน Balanced รายงานสรุป: ช่วยให้ผู้บริหารติดตามความก้าวหน้า Scorecard การเงิน ลูกค้า กระบวนการภายในการเรียนรู้และเติบโต Balanced Scorecard
น้ำหนักการประเมินผลปีงบประมาณ47-49น้ำหนักการประเมินผลปีงบประมาณ47-49 ปีงบประมาณ51/50/49/48/47 • มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล ร้อยละ 45/50/50/60/70 • มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ร้อยละ 20/15/10/10/12 • มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพ ร้อยละ 10/10/10/10/6 • มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร ร้อยละ 25/25/30/20/12
ผลการประเมินการปฏิบัติราชการปี 2547-49 และ ปี 2550
1.3 2.1 3.1 3.2 3.3 4 5 6 7.1 7.2 8 9 10.1 10.2 11 12 13.1 13.2 13.3 14 15.1 15.2 16
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล (45%)
มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ(20%) 4. ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม (6%) ในการแสดงความคิดเห็นและร่วมตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ (นำข้อมูลจากสรุปการดำเนินการไปกำหนดแนวทาง สำหรับปี 2552) 5. ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ (3%) 1.มีเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ 2.มีการปฏิบัติตามมติ ครม. วันที่ 28 ธันวาคม 2547 โดยสามารถตอบสนองได้ ภายในกำหนด ร้อยละ 100 6. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกัน (6%) และปราบปรามการทุจริต 7. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (5%) (เป้าหมายร้อยละ 85)
มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ(10%) 8. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (3%) (เป้าหมายร้อยละ 80) 9. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน (3%) จะได้รับการประเมินเมื่อขั้นตอนที่ 1 และ 2 ได้คะแนนเต็ม 1.ข้อมูลปริมาณการใช้ครบถ้วน 2.ข้อมูลพื้นฐาน 10. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการรักษา (2%) มาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 1.คัดเลือกกระบวนหลักที่สำคัญไม่น้อยกว่า 5 กระบวนงาน 2.ใช้เวลาเฉลี่ยทุกสาขา เป็นผลการดำเนินงาน (แบบฟอร์ม 2) 11. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (2%) 1.ทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย / กิจกรรมย่อย 2.จัดรับบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย / กิจกรรมย่อย
มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร (25%) 22% 12. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) 1.การประเมินองค์กร ไปพร้อมกับการปรับปรุงองค์กร 2.การผนวกตัวชี้วัดย่อยไว้หลายตัว 12.1 ระยะเวลาการส่งรายงานการประเมินตนเอง (31 ต.ค.51) 12.2 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ (6 ประเด็น) ความครบถ้วนในการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง 12.3 ผลคะแนนจากรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์ (7 หมวด) 13. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย 3%
เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ