1 / 151

ร ะเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ

ร ะเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ. ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน. พัสดุ. งบประมาณ. บัญชี. การเงิน. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. เปิดเผย โปร่งใส เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกัน อย่างเป็นธรรม. กระบวนการบริหารงานพัสดุ. กำหนดความต้องการ. งบประมาณ. จัดทำแผน.

waneta
Download Presentation

ร ะเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาพัสดุ

  2. ระบบการเงินการคลังของหน่วยงานระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน พัสดุ งบประมาณ บัญชี การเงิน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  3. เปิดเผย • โปร่งใส • เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกัน • อย่างเป็นธรรม

  4. กระบวนการบริหารงานพัสดุกระบวนการบริหารงานพัสดุ กำหนดความต้องการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  5. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุแบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 การกำหนดความต้องการและการของบประมาณ การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้างเ การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  6. การใช้บังคับตามระเบียบฯการใช้บังคับตามระเบียบฯ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  7. การ จัดทำเอง การ แลกเปลี่ยน การซื้อ การพัสดุ การจ้าง การเช่า การจ้าง ที่ปรึกษา การจ้าง ออกแบบ ควบคุมงาน การพัสดุ

  8. การใช้บังคับ

  9. หน่วยงานเริ่มจัดหาเมื่อใดหน่วยงานเริ่มจัดหาเมื่อใด • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 13 กำหนดว่า “หลังจากได้ทราบยอดเงินที่จะนำไปใช้ในการจัดหาแล้ว ให้ส่วนราชการรีบดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบนี้ เพื่อให้พร้อมที่จะทำสัญญาได้ทันทีเมื่อได้รับอนุมัติทางการเงินแล้ว • พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ มาตรา 23 กำหนดสรุปว่า ห้ามมิให้จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จนกว่าจะได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว

  10. ระเบียบพัสดุ 35 ข้อ 13 ทราบยอดเงิน ทำสัญญา รีบดำเนินการ ตามแผน ได้รับอนุมัติ ทางการเงิน • แนววินิจฉัย กวพ. ว 429 ลว. 8 ธ.ค. 54 • ทราบยอดเงิน คือ งบประมาณผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภา • (กรณีงบกลางผ่านสำนักงบประมาณ) • 2. การเริ่มดำเนินการจัดหา คือ การดำเนินการในขั้นตอนที่ต้อง • ผูกพันกับบุคคลภายนอก (การประกาศฯ)

  11. หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) 0421.3/ว 320 ลว. 27 ส.ค. 55 ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมการจัดหาพัสดุก่อนพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ประกาศใช้ เพื่อให้หน่วยงานสามารถก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายเงินได้ทัน และเป็นไปตามนโยบายเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินของรัฐบาล ให้เริ่มดำเนินกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบไว้ก่อนได้ แต่จะก่อหนี้ผูกพัน (ลงนามในสัญญา) ได้เมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มีผลใช้บังคับ และสำนักงบประมาณได้จัดสรรงบประมาณให้แล้ว เมื่อสภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาอนุมัติร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 แล้ว เงื่อนไข : การจัดซื้อหรือจัดจ้างครั้งนี้จะมีการลงนามในสัญญาได้ต่อเมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 มีผลใช้บังคับ และได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จากสำนักงบประมาณแล้ว และในกรณีที่ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จากสำนักงบประมาณเพื่อการจัดหาในครั้งดังกล่าว ส่วนราชการและหน่วยงานสามารถยกเลิกการจัดหาได้ ให้ถือว่าทราบยอดเงินแล้วโดยอนุโลม

  12. ความหมาย: การซื้อ การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? ตามมติ ครม. แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ข้อยกเว้นเว้นแต่เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ ตามระเบียบฯ ข้อ 23 (6) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ควรใช้วิธีพิเศษ จะใช้สอบราคาหรือประกวดราคามิได้

  13. ความหมาย: การจ้าง การจ้าง : การจ้างทำของ การรับขนตาม ปพพ. และการจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการการรับขนในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน และการจ้างแรงงาน

  14. ความหมาย: งานก่อสร้าง • หมายถึง - งานก่อสร้างตามหลักทั่วไปที่มีกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ • หมายความรวมถึง • 1. งานเคลื่อนย้ายอาคาร • 2. งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรื้อถอนและงานซ่อมแซมซึ่งส่วนราชการเห็นว่ามีความจำเป็นจะต้องมีการควบคุม และดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลาดำเนินการตามความเหมาะสม • (ที่ นร (กวพ) 1204/ว 1939 ลว 24 ก.พ.2537) สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  15. ระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่กำหนดให้ต้องคำนวณราคากลางงานก่อสร้างระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่กำหนดให้ต้องคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง การกำหนดราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ มีระเบียบและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องให้ต้องดำเนินการ ดังนี้ ระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 27 กำหนดให้ก่อนดำเนินการซื้อหรือจ้างทุกวิธี ให้เจ้าหน้าที่พัสดุต้องจัดทำรายงานเสนอหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการจัดซื้อหรือจัดจ้าง โดยในกรณีของงานก่อสร้างจะต้องมีราคากลางเป็นรายละเอียดประการหนึ่งที่ต้องระบุไว้ในรายงาน ด้วย ในการประมูลงานก่อสร้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2549 กำหนดให้ประกาศราคากลางในร่าง TOR และให้ใช้ราคากลางเป็นราคาเริ่มต้นการประมูล มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2555 กำหนดให้ส่วนราชการ อปท.รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ กำหนดราคากลางงานก่อสร้างตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งให้มีการประกาศและเปิดเผยราคากลางในการดำเนินการจัดจ้างก่อสร้างทุกครั้ง ด้วย

  16. มติ ครม. เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การกำหนดราคากลางงานก่อสร้าง มติ 24 ม.ค. 54 หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/2497 ลว. 3 ก.พ. 54 สาระสำคัญ หลักเกณฑ์การกำหนดราคากลางงานก่อสร้าง • อนุมัติให้มีการทบทวนราคากลางงานก่อสร้างให้เป็นปัจจุบัน • กรณีหัวหน้าหน่วยงานได้ให้ความเห็นชอบราคากลางงานก่อสร้าง • ที่คณะกรรมการกำหนดราคากลาง คำนวณไว้แล้ว และ • ยังไม่ประกาศสอบราคา ประกวดราคา หรือประกาศร่าง TOR • ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่หัวหน้าหน่วยงานเห็นชอบ • - ให้พิจารณาทบทวนราคากลางใหม่ให้เป็นปัจจุบัน

  17. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0421.3/ว 90ลงวันที่ 22 สิงหาคม 2555 • แนวทางการเปิดเผยราคากลางงานก่อสร้าง • ให้ประกาศเปิดเผยข้อมูลราคากลาง ทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน และเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง (www.gprocurement.go.th) โดยปฏิบัติตามคู่มือการเปิดเผยข้อมูลราคากลาง • แนบรายละเอียดการคำนวณราคากลาง BOQ. ที่หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบแล้ว เป็นเอกสารหรือเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ (CD-ROM) • เพื่อให้ผู้สนใจสามารถตรวจดูและหรือดาวน์โหลด ตรวจดูได้พร้อมกับการประกาศสอบราคา ประกาศประกวดราคา ฯ • รายละเอียด • - งานอาคาร = ปร.4, ปร.4(พ), ปร.5(ก), ปร.5(ข) และ ปร.(6) • - งานทาง สะพาน ท่อเหลี่ยม =แบบฟอร์มสรุปราคากลาง ตามแบบฟอร์ม • - งานชลประทาน = แบบฟอร์มสรุปราคากลาง • นำรายละเอียดการคำนวณตามแบบฟอร์ม แนบไว้ในเอกสารสอบราคา /ประกวดราคา/ประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

  18. การมอบอำนาจ ผู้มีอำนาจ ดำเนินการ ตามระเบียบฯ (ส่วนกลาง: อธิบดี/ หน.สรก ที่เรียกชื่อ อย่างอื่น และมีฐานะ เป็นนิติบุคคล ส่วนภูมิภาค : ผู้ว่า-ราชการจังหวัด) คำนึงถึงระดับ ตำแหน่งหน้าที่และ ความรับผิดชอบของ ผู้ที่จะได้รับมอบอำนาจเป็นสำคัญ (ผู้รับมอบอำนาจจะมอบ อำนาจให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้) มอบอำนาจ เป็นหนังสือ ให้แก่ผู้ดำรง ตำแหน่งใดก็ได้ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  19. การมอบอำนาจ (ต่อ) มอบอำนาจต่อตามระเบียบกระทรวงกลาโหม ผู้มอบ อำนาจ มอบอำนาจให้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าฯ สามารถมอบอำนาจต่อ แจ้ง บุคคลอื่น รองผู้ว่าฯ , ผู้ช่วยผู้ว่าฯ , ปลัดจังหวัด , หัวหน้าส่วนราชการ ประจำจังหวัด ได้รับความเห็นชอบ

  20. .....................ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ.....................ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ,ลูกจ้าง,พนักงานราชการ, พนักงานมหาวิทยาลัย) โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง (ข้าราชการ) อธิบดี (ส่วนกลาง) ผู้ว่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค) หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ้าสังกัด เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้า เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้า ส่วนราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ สั่งซื้อสั่งจ้าง คณะกรรมการต่างๆ /ผู้ควบคุมงาน 20 สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  21. ...อำนาจในการสั่งซื้อสั่งจ้าง...อำนาจในการสั่งซื้อสั่งจ้าง

  22. คณะกรรมการในการซื้อ/จ้างคณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง /ผู้ควบคุมงาน • คณะกรรมการกำหนดราคากลาง(มติคณะรัฐมนตรี) สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  23. ข้อห้าม !! • แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • เป็นกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคา หรือกรรมการ พิจารณาผลการประกวดราคาเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  24. องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ • ประธาน 1 คน • กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน • แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานของรัฐ หรือลูกจ้างประจำ ** ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ** ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการจะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  25. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ต้องใช้มติเอกฉันท์ ยกเว้น สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  26. กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่ เมื่อถึงกำหนดเวลาเปิดซองสอบราคา หรือ รับซองประกวดราคาให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะข้อ 42 (1) หรือข้อ 49 แล้วรายงานประธาน

  27. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป

  28. ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง

  29. การจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ...จัดทำเมื่อใด ? หลักการ ** ก่อนการจ้างทุกวิธี ต้องทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง** เว้นแต่ การจัดหาโดยวิธี e-Auction ให้ดำเนินการภายหลังจากขั้นตอนการจัดทำและวิจารณ์ TORเสร็จสิ้นแล้ว สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  30. รายละเอียดของรายงาน • เหตุผลความจำเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง • รายละเอียดของพัสดุ • ราคามาตรฐาน หรือ ราคากลาง หรือ ราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปีงบประมาณ • วงเงินที่จะซื้อ / จ้าง ระบุวงเงิน งปม. เงินกู้ เงินช่วยเหลือ ที่จะซื้อ/จ้างในครั้งนั้น • กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุ • วิธีจะซื้อ / จ้าง และเหตุผลที่ต้องซื้อ/จ้างโดยวิธีนั้น • ข้อเสนออื่น ๆ • - การแต่งตั้งคณะกรรมการ • - การออกประกาศสอบราคา หรือ • ประกวดราคา

  31. ** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา ในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท และวิธีพิเศษกรณีเร่งด่วนตาม 23 (2) หรือ 24 (3) ซึ่งไม่อาจทำรายงานตามปกติได้ เจ้าหน้าที่พัสดุหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบนั้นจะทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้างเฉพาะรายการที่เห็นว่าจำเป็นก็ได้ ข้อยกเว้น ที่ไม่ต้องทำรายงานตามข้อ 27 ** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา ในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ตามข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง แต่ต้องทำรายงานขอความเห็นชอบต่อหัวหน้าส่วนราชการ

  32. วิธีการจัดซื้อจัดจ้างวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง วิธีตกลงราคา วงเงินงบประมาณไม่เกิน 100,000 บาท วิธีสอบราคา วงเงินงบประมาณเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา วงเงินงบประมาณเกิน 2,000,000 บาท วิธีพิเศษ วงเงินงบประมาณเกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข วิธีกรณีพิเศษ ไม่กำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข วิธี e-Auction วงเงินงบประมาณตั้งแต่2,000,000 บาท ขึ้นไป สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  33. การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา ข้อ 39 วรรคแรก 3 เจ้าหน้าที่ พัสดุ ติดต่อ 4 1 เสนอราคา รายงาน (27) 5 ใบสั่ง ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ส่งของ/งาน 6 เห็นชอบ (29) 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ

  34. การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา ข้อ 39 วรรคสอง ข้อยกเว้น วิธีการ • กรณีจำเป็นเร่งด่วน • ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน • ดำเนินการตามปกติ ไม่ทัน • เจ้าหน้าที่พัสดุ หรือผู้รับผิดชอบ • ดำเนินการไปก่อน • รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วนราชการ • ใช้รายงานเป็นหลักฐาน • การตรวจรับ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  35. วิธีตกลงราคา ในระบบ e-GP ระยะที่ 2 8 6 4 2 5 1 7 3 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง จัดทำร่างสัญญา บันทึกราคาของผู้เสนอราคา ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา การบริหารสัญญา สร้างโครงการ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  36. วันประกาศ ... ?... วัน คำนึงถึงตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ฯ รับซองอย่างน้อย ๑๐ วัน เปิดซอง วันรับซอง ปิดรับซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา(1) ข้อ 27 เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้อ 29 • ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติ • ไม่น้อยกว่า 45 วัน • - ส่งประกาศ + เอกสารสอบราคา ให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุด • - ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดยเปิดเผย จัดทำประกาศ (ข้อ 40) เผยแพร่เอกสาร วันปิดรับซอง จะต้องห่างจากวันเริ่มต้นรับซองไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน

  37. การเผยแพร่เอกสารสอบราคาการเผยแพร่เอกสารสอบราคา ระเบียบ 35 ข้อ 41 (1) มติ ครม. 7 เม.ย. 53 แจ้งตามหนังสือเวียน ที่ นร 0506/ว.78 ลว. 12 เม.ย. 53 ลงประกาศสอบราคาซื้อ/จ้าง เว็บไซต์ www.gprocurement.go.thและ เว็บไซต์ของหน่วยงาน ส่งประกาศ+เอกสารสอบฯ ไปยังผู้มีอาชีพ ปิดประกาศ ปฏิบัติงานในระบบ e-GP ตั้งแต่ 1 เม.ย. 53

  38. - ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ การยื่นซอง - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์ (กรณีที่กำหนดไว้) - เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง การรับซอง - ระบุวันและเวลารับซอง - ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุส่งให้ คกก.เปิดซองสอบราคาในวันเปิดซอง การเก็บรักษาซอง - หนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ให้ส่งมอบโดยพลัน หลังครบกำหนดรับซอง การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (ต่อ)

  39. การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (ต่อ) คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) หลักการพิจารณาคัดเลือกผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ขั้นที่ 1ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + ประกาศชื่อผู้มีสิทธิได้รับการคัดเลือก

  40. การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน(ระเบียบข้อ 5 ประกอบข้อ 15 ตรี วรรคสอง) ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง 1. บุคคล /นิติบุคคล เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (ทางตรง/อ้อม) รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ได้แก่ - มีความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร - มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน - มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน 2. เข้าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน

  41. ความสัมพันธ์ในเชิงทุนความสัมพันธ์ในเชิงทุน • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ • หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดใน หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก., บ.มหาชน (>25% / กวพ.กำหนด) • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ/หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก./บมจ. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  42. ความสัมพันธ์ในเชิงบริหารความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร • ผู้จัดการ • หุ้นส่วนผู้จัดการ • กรรมการผู้จัดการ • ผู้บริหาร • ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน มีอำนาจหรือสามารถใช้อำนาจในการบริหารจัดการกิจการ บุคคลหรือนิติบุคคลอีกรายหนึ่งหรือหลายราย สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  43. ความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กันความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน • ผู้จัดการ • หุ้นส่วนผู้จัดการ • กรรมการผู้จัดการ • ผู้บริหาร • ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน • สามัญ/หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน • บจก./บมจ. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  44. ตัวอย่าง: ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน เชิงบริหาร เชิงทุน เชิงไขว้

  45. การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (ต่อ) คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ขั้นที่ 2 เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + อ่านแจ้งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกำกับ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรือแบบรูปรายการละเอียด แล้วคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา

  46. ขั้นที่ 3คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ผ่านขั้นตอนที่ 2 ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ ** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่สามารถกำหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ ** การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (ต่อ) ข้อสังเกต รายที่เลือกไม่ยอมเข้าทำสัญญา ให้พิจารณารายต่ำถัดไป ราคาเท่ากันหลายราย ให้ผู้ที่เสนอราคาดังกล่าวยื่นซองใหม่ ถูกต้องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ดำเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม ขั้นที่ 4เสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัดเลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาต่ำสุด ขั้นที่ 5รายงานผลและความเห็น ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ

  47. การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา (ต่อ) กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43) • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือสูงกว่าไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผลอีก ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ • ** ขอลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องาน • ** ขอเงินเพิ่มเติม • ** ยกเลิกการสอบราคา

  48. การจัดทำเอกสารประกวดราคาการจัดทำเอกสารประกวดราคา • รูปแบบ : เอกสารประกวดราคา • กวพ. กำหนด • แบบที่ผ่านการตรวจสอบจากสำนักงานอัยการสูงสุด

  49. คุณสมบัติของผู้เสนอราคาคุณสมบัติของผู้เสนอราคา พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด งานซื้อ/จ้าง ทั่วไป งานจ้าง ก่อสร้าง ต้อง ทำตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 การกำหนด คุณสมบัติของผู้เสนอราคาในการจ้างก่อสร้าง ประกอบ ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42

  50. การกำหนดคุณสมบัติของผู้รับจ้างการกำหนดคุณสมบัติของผู้รับจ้าง ยกตัวอย่าง กรณีโครงการก่อสร้างซึ่งมีวงเงินงบประมาณ 100 ล้านบาท ตามแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานราชการจะกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าเสนอราคาครั้งนั้นได้ ดังนี้ • ต้องเป็นผู้มีอาชีพรับจ้างงานที่ประกวดราคาจ้าง • ต้องไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงานของทางราชการและได้แจ้งเวียนชื่อแล้ว หรือไม่เป็นผู้ที่ได้รับผลของการสั่งให้นิติบุคคลหรือบุคคลอื่นเป็นผู้ทิ้งงานตามระเบียบของทางราชการ คุณสมบัติทั่วไป 50

More Related