1 / 31

มะเร็งปากมดลูก

มะเร็งปากมดลูก. พบมากที่สุดในสตรีไทย - 20.9 ต่อประชากร 1 แสนคน เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 ผป.รายใหม่ในแต่ละปี ประมาณ 6192 ราย เสียชีวิตประมาณ ร้อยละ 57 (11.4ต่อประชากร 1 แสนคน) ระดับโลก ผป.รายใหม่ปีละประมาณ 466 , 000 ราย

wanda
Download Presentation

มะเร็งปากมดลูก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มะเร็งปากมดลูก พบมากที่สุดในสตรีไทย - 20.9 ต่อประชากร 1 แสนคน เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 ผป.รายใหม่ในแต่ละปี ประมาณ 6192 ราย เสียชีวิตประมาณ ร้อยละ 57 (11.4ต่อประชากร 1 แสนคน) ระดับโลก ผป.รายใหม่ปีละประมาณ 466,000 ราย มากเป็นอันดับ 3 รองจาก มะเร็งเต้านม และ มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง

  2. อุบัติการของมะเร็งปากมดลูกในจังหวัดตามภูมิภาคของไทย(พ.ศ.2535-2537)อุบัติการของมะเร็งปากมดลูกในจังหวัดตามภูมิภาคของไทย(พ.ศ.2535-2537) จังหวัด ต่อประชากร 1 แสนคน เชียงใหม่ 25.7 ลำปาง 23.1 ขอนแก่น 18.0 สงขลา 15.8 กรุงเทพ 18.5 ประเทศไทย 20.9

  3. สาเหตุสำคัญที่ทำให้มะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการสูงในประเทศกำลังพัฒนาสาเหตุสำคัญที่ทำให้มะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการสูงในประเทศกำลังพัฒนา 1.ขาดการคัดกรองที่มีประสิทธิภาพ 2.ขาดงบประมาณ 3.ขาดความตระหนัก 4.ขาดความต่อเนื่องและจริงจังของนโยบาย สตรีไทยได้รับการคัดกรองไม่ถึงร้อยละ 5

  4. ปัจจัยเสี่ยงและการดำเนินโรคปัจจัยเสี่ยงและการดำเนินโรค สาเหตุสำคัญ การติดเชื้อ HPV อัตราการถ่ายทอดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ครั้งเดียวสูงถึงร้อยละ 50-65

  5. ปัจจัยเสี่ยงทางนรีเวชปัจจัยเสี่ยงทางนรีเวช 1.มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุน้อย 2.ตั้งครรภ์หรือมีลูกหลายคน 3.ประวัติ STD. 4.มีคู่นอนหลายคน 5.ไม่เคยตรวจคัดกรองมาก่อน 6.กินยาคุมกำเนิดนาน

  6. ปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายชายปัจจัยเสี่ยงทางฝ่ายชาย 1.เป็นมะเร็งอวัยวะเพศ 2.เคยมีภรรยาเป็นมะเร็งปากมดลูก 3.เคยเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 4.มีประสบการณ์ทางเพศตั้งแต่อายุน้อย 5.มีคู่นอนหลายคน

  7. ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ 1.ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ 2.สูบบุหรี่ 3.ภาวะภูมิต้านทานต่ำ

  8. ระยะเวลาการดำเนินโรค ปากมดลูกเริ่มเปลี่ยนแปลงจากเซลล์ปกติเป็น CISใช้เวลาประมาณ 4-5 ปี เปลี่ยนแปลงจาก CIS เป็นมะเร็งลุกลามใช้เวลาประมาณ 5-10 ปี สาเหตุสำคัญของมะเร็งปากมดลูกคือ HPVtype16 และ 18

  9. การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีหลายวิธีการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีหลายวิธี 1. Conventional Papanicolaou test 2. Liquid-based cytology - Thin Prep 3. Colposcopy 4. HPV test 5. VIA

  10. Pap smear เริ่มนำมาใช้เมื่อ ค.ศ.1928 โดย Dr.George Nicholas Papanicolaou การตรวจคัดกรองเริ่มแพร่หลายหลังจาก Dr.James Farnest Ayre ได้เสนอวิธีเก็บเซลล์ตัวอย่างด้วยการใช้ไม้ที่เรียกว่า Ayre spatula อุบัติการณ์การเกิดมะเร็งปากมดลูกและอัตราตายลดลงสัมพันธ์กับความชุกของการตรวจคัดกรอง

  11. ผลปกติ 1 ครั้งมีความเสี่ยงลดลง 48% ผลปกติ 2-4 ครั้งมีความเสี่ยงลดลง 69% ผลปกติ 5 ครั้งขึ้นไปมีความเสี่ยงลดลง 100% การเก็บเซลล์ตัวอย่างจากปากมดลูก จะต้องได้เซลล์ Squamous epithelium จาก ectocervix และ endocervical epithiliumและเซลล์ จาก transformation zone

  12. วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูก (Pap smear) การเตรียมผู้รับบริการ 1. อธิบายให้ผู้รับบริการรู้ขั้นตอน 2. ให้ผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ 3. จัดให้อยู่ในท่า Lithotomy 4. ปิดตาผู้รับบริการ

  13. เตรียมเครื่องมือ 1. ถุงมือสะอาด 2. Speculum ขนาดต่าง ๆ 3. ถ้วยใส่น้ำยาฆ่าเชื้อ สำลี 4. Long Packing forceps 5. Ayre spatula สำลีพันไม้ slide และขวดน้ำยาสำหรับ fix(95%ethyl alcohal) 6. สารหล่อลื่น

  14. Inspection Palpation Speculum examination Papanicolaou smear - เขียนชื่อ-นามสกุลผู้รับบริการลงบนสไลด์ - ใช้ Ayre SpectulaScrape บนคอมดลูกโดยหมุนให้ทั่ว 360 องศา นำ discharge มาป้ายบนแผ่นสไลด์ - จุ่มสำลีพันปลายไม้ในน้ำเกลือ NSS แล้วสอดเข้าไปใน endocervical canal หมุนให้รอบ

  15. - นำ discharge มาป้ายบนแผ่นสไลด์ในทิศทางต่างจากครั้งแรก -แช่ Slide อย่างน้อย 15 นาที -ถอย speculum ออกจากช่องคลอด Bimanual examination Recto vaginal examination

  16. แนวทางการปฎิบัติในการทำPap smear 1.ห้ามผู้รับริการใช้สารหล่อลื่น หรือสวนล้างช่องคลอด 2.ควรเก็บเซลล์ก่อนสอดนิ้วเข้าช่องคลอด 3.ใช้ NSS เช็ด speculum ห้ามใช้สารหล่อลื่น 4.ต้องเห็นปากมดลูกชัดเจน 5.รีบนำ slide จุ่มใน 95%alchohol ทันที

  17. ความแม่นยำขึ้นอยุ่กับความแม่นยำขึ้นอยุ่กับ 1.การเก็บเซลล์จากปากมดลูก 2.ขั้นตอนการย้อม 3.การตรวจคัดกรองโดยเจ้าหน้าที่เซลล์วิทยา 4.การตรวจแปรผลโดยพยาธิแพทย์

  18. ผลลบลวง 1.5-55.5% สาเหตุที่สำคัญคือ ข้อ 1. พบมากกว่า 70-80% ปัจจุบันมีการตรวจคัดกรองวิธีใหม่ เรียกว่า Thin Prep (Fluid-based preparation) ผลลบเทียมต่ำมาก preparation error ไม่มี

  19. เปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างThin prep และconventional Pap ข้อเปรียบเทียบThin prep Pap อุปกรณ์ที่ใช้เก็บเซลล์ broom Arye spatula การเก็บรักษาเซลล์ นำbroom มาแกว่ง ป้ายบนแผ่นกระจก ในขวดน้ำยา ทันที การเตรียมสไลด์ นำเข้าเครื่อง ย้อมสีตามขั้นตอน Thin Prep 2000 processor

  20. ควรเริ่มตรวจคัดกรองเมื่อไรและบ่อยแค่ไหนควรเริ่มตรวจคัดกรองเมื่อไรและบ่อยแค่ไหน ใน USAปี 1988 :สตรีทุกคนที่มีเพศสัมพันธ์ หรือเคยมีเพศสัมพันธ์ หรืออายุถึง18ปี ควรได้รับการตรวจภายในและทำ Pap smear ปีละครั้ง หลังจากผลปกติมากกว่าหรือเท่ากับ3ครั้งติดต่อกันให้ตรวจห่างออกไปได้ขึ้นกับดุลยพินิจของแพทย์ :

  21. การคัดกรองในประเทศไทยการคัดกรองในประเทศไทย ปี 1992 WHO :ควรจะตรวจคัดกรองสตรีทุกคนที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 1 ครั้งในช่วงชีวิตที่อายุประมาณ 40 ปี:

  22. ควรเริ่มมาตรวจหลังจากมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก 3-5 ปี อย่างน้อยควรตรวจทุก 5 ปี ขึ้นกับปัจจัยเสี่ยง การตรวจทุก 1 ปี ลดอัตราการสะสมของมะเร็งร้อยละ 93 ………….. 3 ปี……………………………………. 91 …………….5 ปี…………………………………… 84 แม้แต่การตรวจคัดกรองทุก 10ปี หรือเพียง 1 ครั้งในชีวิตก็สามารถลดอุบัติการณ์ลงได้อย่างมีนัยสำคัญ

  23. การตรวจคัดกรองในอนาคตการตรวจคัดกรองในอนาคต -HPV vaccine -HPV Test

  24. มะเร็งปากมดลูก แบ่งออกเป็น 1.ระยะก่อนลุกลาม 2.ระยะลุกลาม แบ่งเป็น 4 ระยะ ลักษณะทางคลินิก -ระยะก่อนลุกลามมักไม่มีอาการ มองไม่เห็นรอยโรคที่ปากมดลูก มักวินิจฉัยได้จากการทำ Pap smear

  25. รายที่มีอาการอาจมีดังนี้รายที่มีอาการอาจมีดังนี้ 1.เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด(ร้อยละ 80-90) -เลือดออกสดๆ บ่อย นาน ซีดมาก -กระปริดกระปรอยระหว่างรอบเดือน หรือออกหลังร่วมเพศ -น้ำปนเลือดจางๆ -ตกขาวปนเลีอดมีกลิ่นเหม็น

  26. 2.อาการในระยะหลัง -มะเร็งกระจายออกไปทางด้านข้าง *กดท่อไต *กดหลอดเลือดและหลอดน้ำเหลือง *กดเส้นประสาทและกระดูก -มะเร็งกระจายไปทางด้านหน้าไปยังกระเพาะปัสสาวะ -กระจายไปยังทวารหนัก

  27. อาการในระยะสุดท้าย ซีด น้ำหนักลด ผอมแห้ง มีอาการยูรีเมีย จากการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ หรือมีอาการจากการกระจายของมะเร็งไปที่อื่นๆ ( ปอด ตับ กระดูก )

  28. การรักษา ระยะก่อนลุกลาม -การเฝ้าติดตามสังเกต -การดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอก-จี้ด้วยความเย็น -ผ่าตัดด้วยเลเซอร์ -LEEP -การดูแลแบบผู้ป่วยใน-ตัดปากมดลูกเป็นรูปกรวย -ตัดมดลูก

  29. การรักษาคำนึงถึง *อายุของผู้ป่วย *ความต้องการตั้งครรภ์อีกในอนาคต *ความรุนแรงของโรค *สภาพร่างกายและจิตใจ *ความสามารถในการมาติดตามผล

  30. ระยะลุกลาม การรักษามี 4 วิธี 1.การผ่าตัด 2.รังสีรักษา 3.เคมีบำบัด 4.หลายวิธีร่วมกัน

  31. การพยากรณ์โรคขึ้นกับ *ขนาดของก้อนมะเร็ง *Grade ของเซลล์มะเร็ง *ระยะของโรค อัตราการอยู่รอด 5ปี ระยะที่1 ร้อยละ 78 ระยะที่2 ร้อยละ 57 ระยะที่3 ร้อยละ31 ระยะที่4 ร้อยละ8

More Related