270 likes | 405 Views
ยุทธศาสตร์มหาดไทยกับนโยบาย การพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน. โดย นางสุดารัตน์ สุทธิสารากร หัวหน้ากลุ่มงานประสานเครือข่ายภาคีภาครัฐ และเอกชน. กระทรวงมหาดไทย. ๓ มิถุนายน ๒๕๕๓. พื้นที่ชายแดนของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน.
E N D
ยุทธศาสตร์มหาดไทยกับนโยบายยุทธศาสตร์มหาดไทยกับนโยบาย การพัฒนาความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน โดย นางสุดารัตน์ สุทธิสารากร หัวหน้ากลุ่มงานประสานเครือข่ายภาคีภาครัฐ และเอกชน กระทรวงมหาดไทย ๓มิถุนายน ๒๕๕๓
พื้นที่ชายแดนของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านพื้นที่ชายแดนของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน กัมพูชา - ระยะทาง ประมาณ 798 กม. จังหวัดชายแดน 7 จังหวัด ลาว - ระยะทางประมาณ 1,810 กม. จังหวัด ชายแดน 11 จังหวัด พม่า - ระยะทางประมาณ 2,387 กม. จังหวัด ชายแดน 10 จังหวัด มาเลเซีย - ระยะทางประมาณ 647 กม. จังหวัดชายแดน 4 จังหวัด รวมแนวเขตพื้นที่ทางบกประมาณ 5,642 กม.จังหวัดชายแดน 30 จังหวัด
แนวนโยบายการต่างประเทศของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านแนวนโยบายการต่างประเทศของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน • ฟื้นฟูและกระชับความสัมพันธ์และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน และประเทศในภูมิภาคเอเชีย • ริเริ่มหรือสานต่อความสัมพันธ์และความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี • สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกันในการแก้ไขปัญหา • แสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์และจริงใจ
ยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดนยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน การพัฒนาศักยภาพคนและชุมชนและพื้นที่ชายแดน การผนึกกำลังเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงบริเวณชายแดน การพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
แนวทางการดำเนินงานพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ของกระทรวงมหาดไทย การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน การส่งเสริมการพัฒนาพื้นที่ชายแดนร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กลไกและกรอบความร่วมมือที่มีอยู่ การดูแลจุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว และจุดผ่อนปรนและการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายแดน การดูแลแนวเขตแดนและการป้องกันตลิ่ง การดูแลพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า การดำเนินการในเรื่องหมู่บ้านและชุมชนเข้มแข็ง การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การยาเสพติด อาวุธสงครามและการค้ามนุษย์
ปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินการยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดนปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินการยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน กลไกภายใน (บูรณาการ) ยุทธศาสตร์ชาติ กลไกระหว่างประเทศ งาน ภาคประชาสังคม/NGO ภาคเอกชน เงิน คน งบตามภารกิจ (Function) ภาครัฐ FMIP ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น เงินกู้/เงินช่วยเหลือ/เงินอุดหนุน บูรณาการ
กลไกความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านกลไกความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน
สรุปช่องทางผ่านแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในพื้นที่ 25 จังหวัด 88 ช่องทาง
จุดผ่านแดนบริเวณชายแดนไทย-ลาวจุดผ่านแดนบริเวณชายแดนไทย-ลาว
จุดผ่านแดนบริเวณชายแดนไทย-พม่า 17 จุด ข้อมูล ณ 19 ต.ค. 52
Economic Corridors North-South Economic Corridor (1) North-South Economic Corridor (2) East – West Economic Corridor South Economic Corridor (2) South Economic Corridor (1)
-หน่วยงานในประเทศ -กต. (กรมเอเชียตะวันออก กรมสนธิสัญญา และกฎหมาย ฯลฯ) -พณ. (กรมการค้าต่างประเทศ -บก.ทหารสูงสุด (ศูนย์ประสานงานชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ผท.ทหาร) -กรมศุลกากร -สตม. -สอท.4แห่ง -กระทรวงแรงงาน -กระทรวงสาธารณสุข -กลไกความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านที่สำคัญ -คณะกรรมาธิการร่วม (JC) -คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (GBC) -คณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค (RBC) -คณะกรรมการเขตแดนร่วม (JBC,LBC) -คณะกรรมการเทคนิคร่วม (JTC) -กลไกความร่วมมือที่ มท. เป็นหน่วยหลัก -การประชุมคณะผวจ.ชายแดนไทย-ลาว -การประชุมคณะผวจ.ชายแดนไทย-กัมพูชา -การประชุมร่วมระหว่าง รมว.มท. ไทย-มช. -คณะกรรมการร่วมไทย-ลาว เพื่อดูแลการ ดำนินกิจกรรมต่างๆ ในแม่น้ำโขงและแม่น้ำเหือง บทบาทภารกิจของกระทรวงมหาดไทยในด้านความมั่นคง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รัฐบาล สมช. สำนักศูนย์ดำเนินการเกี่ยวกับผู้อพยพ กระทรวงมหาดไทย สำนักปลัดกระทรวงมหาดไทย ยผ. ทด. พช. ปภ. สถ. กองการต่างประเทศ สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด ภารกิจ กรมการปกครอง --สน.มน. -สน.อส. -วช. สำนักนโยบายและแผน ก.กิจการต่างประเทศ ก.ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน ก.ประสานกิจการ ผู้อพยพ กลไกความร่วมมือระดับท้องถิ่น -คณะกรรมการร่วมมือรักษาความสงบเรียบร้อยตามชายแดน (ด้านลาวและกัมพูชา) ฯลฯ จังหวัด กบจ.กอ.รมน.จ สนจ. ปค • ทุน • ข้อตกลงระหว่างประเทศ • ผลการเจรจา • การประชุมร่วมพหุภาคี ทวิภาคี • เมืองพี่เมืองน้อง • อาชญากรรมข้ามชาติ -เขตแดน -จุดผ่านแดน -บัตรผ่านแดน -การประชุมกับประเทศเพื่อนบ้าน -ความสัมพันธ์ระดับท้องถิ่น -ความมั่นคงชายแดน -ผู้หนีภัยจากการสู้รบ -แรงงานต่างด้าว -ผู้หลบหนีเข้าเมือง (ม้งเพชรบูรณ์) หน่วยงานต่างประเทศ -UNHCR -CCSDPT -IOM -NGO”s พื้นที่พักพิง 9แห่ง ใน 4 จังหวัด
กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการกลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ก.น.จ. ระดับชาติ นายกรัฐมนตรี ระดับกลุ่มจังหวัด ก.บ.ก. คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ หัวหน้ากลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ก.บ.จ. จังหวัด 2 คณะกรรมการ บริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัด 4 จังหวัด 1 จังหวัด 3 องค์ประกอบหลัก: 1-ภาครัฐ 2-ผู้บริหารท้องถิ่น 3-ภาคธุรกิจเอกชน 4-ภาคประชาสังคม
โครงสร้างการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ โครงสร้างการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ปรึกษา องค์กรที่ปรึกษา • ผู้นำศาสนา • ศาล • ทหาร • ผู้ทรงคุณวุฒิ กรอ. จว. กอ.รมน.จว. คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ กลุ่มภารกิจ ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ ด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจ ด้านการบริหารจัดการ นายอำเภอ คณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ กลุ่มภารกิจ ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ ด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจ ด้านการบริหารจัดการ ชุดปฏิบัติการประจำตำบล คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้ปกครองท้องที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัด 18กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2551
ความร่วมมือภาครัฐ/เอกชนความร่วมมือภาครัฐ/เอกชน ภาครัฐ ภาคเอกชน 1. การบริหารจัดการภาครัฐ 1. กลไกความเชื่อมโยงระบบการทำงานร่วมกันอย่างเป็นเอกภาพ 2. การลงทุนของภาครัฐ 3. การทำสัญญาประชาคม 2. การให้ความสำคัญกับการลงทุนเพื่อที่จะสร้างองค์ความรู้ 4. วางแนวทางในการพัฒนาบุคลากรของ กรอ.จังหวัดในอนาคต
ช่องทางการประสานเชื่อมโยงระหว่าง กรอ.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด กับ กรอ.ส่วนกลาง ประเด็นข้อเสนอ กรอ.จังหวัด/กลุ่มจังหวัด กระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย ภาคเอกชนในจังหวัด/กลุ่มจังหวัด คณะทำงานร่วมภาครัฐและเอกชน เพื่อพิจารณากลั่นกรองประเด็นข้อเสนอจาก กรอ.จังหวัดและกลุ่มจังหวัด คณะกรรมการ กกร./สทท. หน่วยงานรับผิดชอบ/คณะกรรมการนโยบายระดับต่างๆ กรอ.ส่วนกลาง กรอ.ส่วนกลาง กรอ.ส่วนกลาง
ศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด
บทบาทของ กรอ.จังหวัด ที่คาดหวัง 1. กรอ.จังหวัด เป็นองค์กรความร่วมมือที่เข้มแข็ง สามารถให้ข้อแนะนำ ข้อเสนอ และร่วมขับเคลื่อนต่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง 2. กรอ.จังหวัด เป็นเวทีการทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดและมีบรรยากาศการทำงานที่ดีร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3. กรอ.จังหวัด มีส่วนร่วมต่อการกำหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัด และสามารถสนับสนุน ผลักดัน หรือดำเนินการปรากฏผลงานที่ออกมาเป็นรูปธรรม และเป็นแบบอย่างของการพัฒนาองค์กรความร่วมมืออื่นๆ
ตัวอย่างตารางสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตัวอย่างตารางสรุปผลการดำเนินกิจกรรม กระชับความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน
การเสริมสร้างความมั่นคงการเสริมสร้างความมั่นคง เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การทหาร
Q&A จบการบรรยาย.......