190 likes | 358 Views
ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน. โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ กำหนดแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนรองรับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี. โดย นายผดุงศักดิ์ อู่นนทกานต์. สิงหาคม 2554.
E N D
ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจนความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน โครงการวิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ำใช้ในรถยนต์และ กำหนดแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนรองรับ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี โดย นายผดุงศักดิ์ อู่นนทกานต์ สิงหาคม 2554
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน • นโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนของประเทศให้ได้ร้อยละ 20.3 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี พ.ศ. 2565 • เพื่อให้ทราบสถานภาพของการดำเนินงานด้านพลังงานไฮโดรเจนของหน่วยงานต่างๆ ที่มีอยู่ • เพื่อรวบรวมข้อมูลผลการศึกษาเช่นงานวิจัยและพัฒนาในอดีตที่ผ่านมา • เพื่อให้รับทราบถึงกิจกรรมของเครือข่ายพลังงานไฮโดรเจนและร่วมแสดงความคิดเห็น 2
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน จัดทำเว็บไซด์ของเครือข่าย ประชุมจัดตั้งเครือข่าย #1 ดำเนินการโดยที่ปรึกษาในโครงการ • เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจน • แนวทางการดำเนินกิจกรรมของเครือข่าย • รับฟังข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ นำเสนอแนวทางการตั้งคณะกรรมการฯ • แนวทางจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่าย จากหน่วยงานต่างๆ • บทบาท/หน้าที่ จัดตั้งคณะกรรมการฯ หาความร่วมมือจากหน่วยงานในประเทศ รับฟัง/เสนอแนะข้อคิดเห็น บทบาท/หน้าที่ของเครือข่าย • งานวิจัยและพัฒนา • ผู้ประกอบการเอกชน • เชื่อมโยงกับกลุ่มพลังงานทดแทนประเภทอื่น • เสนอแนะข้อคิดเห็นที่เหมาะสมให้ภาครัฐทั้งทางด้านนโยบายและการประยุกต์ใช้งาน แหล่งข้อมูลที่สำคัญ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ หาความร่วมมือจากต่างประเทศ
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน เครือข่าย กิจกรรมเครือข่าย เครือข่าย เงินสนับสนุนกิจกรรม ข้อเสนอแนะ กิจกรรมรองรับแผน15 ปี H2 100,000 กก. งานวิจัยและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน มาตรฐาน ส่งเสริมการใช้ ผลิตไฮโดรเจน ระบบส่งจ่ายไฮโดรเจน สถานีเติม การผลิต/จัดเก็บ/การใช้ ปี2560-2565 ผลิตไฟฟ้า คมนาคมขนส่ง ระบบท่อ กระบวนการทางความร้อน เครื่องยนต์สันดาปภายใน รถบรรทุก อิเลคโตรไลซิส Transition Demo Bus เซลล์เชื้อเพลิง เซลล์เชื้อเพลิง แผนระยะยาว แผนขับเคลื่อน ส่งเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม่ๆที่มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์รวมถึงการขยายผล Green City และพลังงานชุมชนและสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์ส่งออกเชื้อเพลิงชีวภาพและการส่งออกเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในภูมิภาคอาเซียน จัดตั้งเครือข่ายพลังงานทดแทนเพื่อเป็นกลไกในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการฯ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย กลุ่มผู้ผลิตไฮโดรเจน กลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ กลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่อเนื่อง หน่วยงานมาตรฐานและความปลอดภัย ผู้ผลิต/นำเข้ารถยนต์ โรงงานผลิตชิ้นส่วน/อุปกรณ์ หน่วยงานสนับสนุน ผลิตก๊าซอุตสาหกรรม/ก๊าซที่ได้จากกระบวนการ สถาบันมาตรฐานและการทดสอบ สนับสนุนการผลิต การจัดเก็บ การขนส่งและการใช้ไฮโดรเจน สนับสนุนการผลิต ชิ้นส่วนรถยนต์ หน่วยงานวิจัย
วาระที่ 2 กิจกรรมของเครือข่าย วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการฯ พิจารณาผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานในกลุ่มที่เกี่ยวข้องต่างๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย กลุ่มผู้ผลิตไฮโดรเจน กลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ กลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่อเนื่อง หน่วยงานมาตรฐานและความปลอดภัย จำนวน 205 15 >100 8 หน่วยงาน จำนวน 41 2 2 3 คน เป้าหมาย รวม 12 คน
วาระที่ 2 กิจกรรมของเครือข่าย วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มงานส่งเสริมงานวิจัย • กลุ่มส่งเสริมและสนับสนุน • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) • ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) • สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี การปิโตเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • กรมขนส่งทางบก • กรมธุรกิจพลังงาน • สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) • กองพลังงานทดแทน กรมการพลังงานทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร • กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน • อื่นๆ
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน • กลุ่มผู้วิจัยและพัฒนา • สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • มหาวิทยาลัยมหิดล • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี • มหาวิทยาลัยนเรศวร • มหาวิทยาลัยขอนแก่น • มหาวิทยาลัยบูรพา • บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) • สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต • อื่นๆ • บริษัทเอกชน • บริษัท คลีนฟูเอล เอ็นเนอร์ยี เอ็นเตอร์ไพร้ส์ จำกัด สถาบันการศึกษา
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 9
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 10
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน ตัวอย่างงานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาของประเทศไทย 11
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มผู้ผลิตไฮโดรเจน • บริษัท ไทยอินดัสเตรียล แก๊ส จำกัด (มหาชน) • บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแก๊ส จำกัด • บริษัท แอร์ ลิควิด (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท แอร์โปรดัคส์ อินดัสตรีย์ จำกัด • บริษัท แพรกซ์แอร์ ( ประเทศไทย ) จำกัด
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มผู้ผลิตรถยนต์ • บริษัท เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด • บริษัท ทาทา มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท สยามนิสสัน ออโตโมบิล จำกัด • บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท ออโต้อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำกัด (มหาชน) • บริษัท วอลโว คาร์ ประเทศไทย จำกัด • บริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต์ จำกัด • บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท อีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท เดมเลอร์ไครสเลอร์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัท มาสด้า เซลส์ (ประเทศไทย) จำกัด • อื่นๆ
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน รายชื่อกลุ่มหน่วยงานมาตรฐานและความปลอดภัย • สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม • สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย • สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย • สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ไทย • สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • กรมธุรกิจพลังงาน • กรมขนส่งทางบก • กรมควบคุมมลพิษ • อื่นๆ
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน องค์ประกอบของคณะกรรมการฯ • ประธานคณะกรรมการ 1 ท่าน • คณะกรรมการ 10 ท่าน • เลขานุการ 1 ท่าน • วาระของคณะกรรมการ 3 ปี
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน บทบาท/หน้าที่คณะกรรมการฯ • กำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจของเครือข่าย • เรียกประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าของเครือข่าย • ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน การจัดทำ Website • แหล่งข้อมูลงานวิจัยและพัฒนา • ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยจากสมาชิกของกลุ่มต่างๆ • เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารหรือกิจกรรมของกลุ่ม • รับฟังข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ • เชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
วาระที่ 2.3 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานเครือข่ายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน การจัดทำ Website ตัวอย่าง