240 likes | 410 Views
Action on Smoking and heath Foundation/ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. การเสวนาเรื่อง “สุขภาวะสู่ อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง”. ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 18 กรกฎาคม 2555. การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก). จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน
E N D
Action on Smoking and heath Foundation/มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ การเสวนาเรื่อง“สุขภาวะสู่อุมมะฮ์ (ประชาชาติ) ที่เข้มแข็ง” ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 18 กรกฎาคม 2555
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) = 210,964 คน = 50.7% นั่นคือ ครึ่งหนึ่งของคนไทยเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ 5 โรค (โรคมะเร็ง โรคเส้นเลือดสมอง โรคเส้นเลือดหัวใจ โรคเบาหวาน โรคถุงลมพอง) คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 • โรคมะเร็ง = 80,711 คน • โรคเส้นเลือดสมอง = 50,829 คน • โรคเส้นเลือดหัวใจ = 34,384 คน • โรคเบาหวาน = 26,380 คน • ถุงลมโป่งพอง = 18,660 คน รวม = 210,964 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ (หลัก) ของคนไทย พ.ศ.2552 จำนวนผู้เสียชีวิต = 210,964 เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960 = 27% คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
4 ปัจจัยเสี่ยง • ยาสูบ • อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ • ขาดการออกกำลังกาย • สุรา เป็นสาเหตุของ 4 กลุ่มโรคไม่ติดต่อหลัก • โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง • โรคมะเร็ง • โรคเบาหวาน • โรคปอดเรื้อรัง ซึ่งเท่ากับ 80%ของโรคไม่ติดต่อทั้งหมด
ปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ (หลัก) *โรคปอดจากภาวะอ้วนเกิน
พฤติกรรม/ภาวะเสี่ยง ในประชากร พ.ศ.2550 (%)
จำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (หลัก) • ความดันโลหิตสูง = 10.0 ล้านคน • เบาหวาน = 3.2 ล้านคน • โรคหัวใจ = 690,000 คน • โรคเส้นเลือดสมอง = 730,000 คน • โรคถุงลมพอง = 270,000 คน การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552
ความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ • ผู้ที่สูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องโดยไม่เลิก - ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศที่พัฒนาแล้ว) - หนึ่งในสามจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศกำลังพัฒนา) ในปี พ.ศ.2553 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ 5.4 ล้านคน
การเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสองการเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547 The Lancet 377, 2011
การเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสองการเสียชีวิตจากควันบุหรี่มือสอง ใน 192 ประเทศ พ.ศ.2547 จำนวนรวม = 603,000 คน ร้อยละ 47 เป็นผู้หญิง ร้อยละ 25 เป็นผู้ชาย ร้อยละ 28 เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี The Lancet 377, 2011
การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 • โรคมะเร็งปอด = 11,210 คน • โรคมะเร็งอื่น ๆ = 6,831 คน • โรคถุงลมพอง = 11,614 คน • โรคปอดอื่น ๆ = 2,841 คน • โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง = 10,945 คน • โรคอื่น ๆ = 4,803 คน รวม = 48,244 คน คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
คนไทย 48,244 คน ที่เสียชีวิตจากโรค ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2552 • โดยเฉลี่ยแต่ละคนป่วยหนักเป็นเวลา = 2.1 ปี • รวมเวลาที่เจ็บป่วยหนัก = 104,374 ปี • โดยเฉลี่ยอายุสั้นลงคนละ = 12.1 ปี • รวมเวลาของชีวิตที่เสียไป = 587,710 ปี บุหรี่เป็นสาเหตุของการสูญเสียเวลาแห่งชีวิต อันดับที 2 ของคนไทย คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554
อัตราการสูบบุหรี่ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ (%) • การสำรวจสุขภาพประชากรไทย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2552
อัตราการสูบบุหรี่ประชากรไทย (%) • สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ.2552
การได้รับควันบุหรี่มือสอง (%) ในที่ทำงาน การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
การได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน (%) • ภาคใต้ 58.1 • ภาคเหนือ39.4 • ภาคอีสาน 38.8 • ภาคกลาง 36.1 • กทม. 22.8 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
อัตราส่วนผู้ที่เคยสูบบุหรี่และเลิกได้แล้ว (%) • ภาคเหนือ 36.2 • กทม.31.4 • ภาคอีสาน 29.2 • ภาคกลาง27.7 • ภาคใต้ 18.2 เฉลี่ย 28.8 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
อัตราส่วนผู้สูบบุหรี่ที่เคยพยายามเลิกสูบอัตราส่วนผู้สูบบุหรี่ที่เคยพยายามเลิกสูบ • ภาคกลาง 55.5 • ภาคอีสาน 51.6 • ภาคเหนือ46.8 • กทม. 45.6 • ภาคใต้ 43.0 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
บุหรี่ซองสุดท้ายที่ซื้อ ที่ไม่มีรูปภาพคำเตือน บนซอง (%) • ภาคใต้ 8.6 • ภาคเหนือ 4.2 • ภาคกลาง 1.7 • ภาคอีสาน 1.0 • กทม. 0.4 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
อัตราและจำนวนผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย 2552 • การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
ค่าใช้จ่ายที่สูบบุหรี่ซอง เฉลี่ยต่อเดือน (บาท) • กทม. 759 • ภาคกลาง 628 • ภาคใต้ 545 • ภาคอีสาน 523 • ภาคเหนือ 460 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
ภาคใต้ • จำนวนผู้สูบบุหรี่ซองที่ผลิตจากโรงงาน = 1,322,500 คน • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อคน = 545 บาท • รวมจำนวนค่าใช้จ่ายต่อเดือน = 720.7 ล้านบาท • คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อปี = 8,648 ล้านบาท การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2552
สรุป ปัญหาการสูบบุหรี่ของภาคใต้ • อัตราการสูบบุหรี่สูงที่สุดในประเทศ • อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในที่สาธารณะสูงที่สุดในประเทศ • อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านสูงที่สุดในประเทศ • อัตราการเลิกสูบบุหรี่ได้ต่ำที่สุดในประเทศ • อัตราส่วนผู้สูบบุหรี่ที่เคยพยายามเลิกสูบต่ำที่สุดในประเทศ • บุหรี่ผิดกฎหมายมีสัดส่วนสูงสุดในประเทศ