600 likes | 708 Views
การติดตามผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมศิลปากรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (รอบ ๖ เดือน) วันพุธที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๐ ณ ห้องประชุม สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
E N D
การติดตามผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมศิลปากรประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ (รอบ ๖ เดือน) วันพุธที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๐ ณ ห้องประชุม สำนักหอสมุดแห่งชาติ
เป็นองค์กรหลักในการธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติและเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของชาติเป็นองค์กรหลักในการธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติและเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชนเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของชาติ วิสัยทัศน์ รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร พันธกิจ • ธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรม • สืบทอดมรดกศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบไป • เพิ่มศักยภาพแหล่งศิลปวัฒนธรรมให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยว • พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมให้มีประสิทธิภาพ
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ปกป้อง คุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟู ศิลปวัฒนธรรม ธำรงจารีตประเพณี พระราชพิธี และรัฐพิธี ให้คงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เพื่อความมั่นคงของชาติและเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศ เป้าประสงค์ ๑. รักษามรดกศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของชาติและท้องถิ่น ๒. ธำรงรักษาจารีตประเพณี พระราชพิธี รัฐพิธี ๓. ส่งเสริม บูรณาการความร่วมมือขององค์กรภาครัฐ เอกชน และเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ สืบทอดสร้างสรรค์เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม เป้าประสงค์ ประชาชนรู้ เข้าใจ มีจิตสำนึกรักและหวงแหนมรดกวัฒนธรรมของชาติสามารถสืบทอดและสร้างสรรค์
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร เป้าประสงค์ ๑. รักษาและสืบทอดเอกลักษณ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมทั้งในด้านนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ และช่างศิลป์ ๒.พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรม ๓. เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยศิลปวัฒนธรรมด้านนาฏศิลป์ดนตรี คีตศิลป์และช่างศิลป์และให้บริการเพื่อส่งเสริมการเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ จัดการศึกษาเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อการอนุรักษ์ สืบทอด และพัฒนาอย่างยั่งยืน
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนได้ความรู้และบริการที่ดีจากแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม องค์ความรู้มรดกศิลปวัฒนธรรมได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ๒. องค์ความรู้ด้านมรดกศิลปวัฒนธรรม ได้รับการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบสามารถนำไปใช้และเผยแพร่ถ่ายทอดสู่ประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ บริหารจัดการองค์ความรู้และพัฒนามรดกศิลปวัฒนธรรมให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยว
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่๕ พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงาน เป้าประสงค์ ๑. สร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ ๒. ปรับปรุงระบบ/กระบวนการทำงานและกฎระเบียบให้มีความทันสมัย ๓. พัฒนาศักยภาพและขีดความสมรรถนะของบุคลากรและองค์กรให้มีความพร้อมและอยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐานที่สามารถยอมรับได้
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ กรมศิลปากร กรมศิลปากร • กลุ่มตรวจสอบภายใน • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร • งานเทคโนโลยีสารสนเทศ • ศูนย์ปฏิบัติการกรม สำนักงานเลขานุการกรม สำนัก พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สำนักการสังคีต สำนักโบราณคดี โรงละครแห่งชาติภูมิภาค ๒ แห่ง สำนักช่างสิบหมู่ สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ สำนักสถาปัตยกรรม สำนัก หอสมุดแห่งชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สำนักศิลปากรที่ ๑-๑๕ สำนัก หอจดหมายเหตุแห่งชาติ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ,อุทยานประวัติศาสตร์ ,หอสมุดฯหอจดหมายเหตุฯ,ในเขตพื้นที่ วิทยาลัยช่างศิลป ๓ แห่ง วิทยาลัยนาฏศิลป๑๒ แห่ง
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐รอบ ๖ เดือน
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 5. ร้อยละระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 6. ระดับความสำเร็จของการเปิดโอกาสให้ประชาชนมามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ 7.1 ระดับความสำเร็จในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ 7.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (7.2.1-7.2.3) • มิติด้านประสิทธิผล • 1.+2 ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง/กลุ่มภารกิจ • 3. ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ • 4. ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของหน่วยงานที่ไม่ปรากฏ • ในแผนปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 (ร้อยละ 15) มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 8. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 9. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ 10.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 10.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานของส่วนราชการ 11. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต(ตัวชี้วัดเลือก) มิติที่ 1 (ร้อยละ 50) มิติที่ 3 (ร้อยละ 10) มิติที่ 4(ร้อยละ 25) มิติด้านการพัฒนาองค์กร 12.ระดับความสำเร็จของแผนการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ 13.1ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล 13.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร 13.3 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดตามเป้าหมายระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล 14. ระดับความคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของส่วนราชการ 15.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย 15.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย 16 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 17. ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง (ตัวชี้วัดเลือก)
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๑ มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ
ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ (ร้อยละ ๒๐)
ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ
ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ
ประเด็นการประเมินผล : ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ร้อยละความสำเร็จของมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่ได้รับการอนุรักษ์อย่างมีมาตรฐานตามหลักวิชาการ(น้ำหนักร้อยละ ๔) • ผลการดำเนินงาน • จัดตั้งคณะทำงาน • ประชุมระดมความคิดเห็น เพื่อกำหนด • นิยาม เป้าหมาย และวิธีการดำเนินงาน • รวมทั้งแนวทางในการติดตามผล • จัดทำแผนปฏิบัติราชการ • อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผน มรดกทางศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ ๓.๑.๑ โบราณสถาน ๓.๑.๒ โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ๓.๑.๓ งานช่างศิลปกรรม ๓.๑.๔ เอกสารจดหมายเหตุ ๓.๑.๕ เอกสารโบราณ ๓.๑.๖ นาฏดุริยางคศิลป์ ๓.๑.๗ วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๒ จำนวนพื้นที่เป้าหมายที่มีกิจกรรมบูรณาการ ธำรงรักษาและอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่และมีรายงานสรุปผลการดำเนินการ(น้ำหนักร้อยละ ๓) • ผลการดำเนินงาน • แต่งตั้งคณะทำงาน • ประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อ • กำหนดพื้นที่เป้าหมายที่จะดำเนินการ • ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ • ๓. จัดทำแผนปฏิบัติการและแนวทาง • การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน • ๔. อยู่ระหว่างการดำเนินการของ • หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ การดำเนินการตามตัวชี้วัดนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ เป้าประสงค์ที่ ๓ “ส่งเสริมบูรณาการความร่วมมือขององค์กร ภาครัฐ เอกชนและเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม โดย ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีเป้าหมายทั้งสิ้น ๕๐ พื้นที่
ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ระดับความสำเร็จในการอนุรักษ์สืบทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและธำรงรักษาจารีตประเพณี พระราชพิธี รัฐพิธี ให้ถูกต้องตามโบราณราชประเพณี (น้ำหนักร้อยละ ๔) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๑ : ทบทวนผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙ แล้วจัดทำ Focus Group เพื่อระดมความคิดในการกำหนด แก่น หรือ Theme เรื่องที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นเรื่องที่แสดงถึง “วิวัฒนาการ”(Evolution) หรือ “ความสำคัญของประวัติศาสตร์” และ ความเป็นชาติไทย ที่จะสร้างให้เกิดความประทับใจ/คุณค่า และเกิดการเรียนรู้และจิตสำนึกรักแผ่นดินไทย ขั้นตอนที่ ๒: นำผลการวิเคราะห์จากขั้นตอนที่ ๑ มาจัดทำแนวทางการดำเนินงานในปี ๒๕๕๐ ขั้นตอนที่ ๓ :ดำเนินการตามแผน/แนวทางที่กำหนดได้แล้วเสร็จครบถ้วน ขั้นตอนที่ ๔:มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ เช่น โทรทัศน์ Internet ฯลฯ เป็นต้น ขั้นตอนที่ ๕ : ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพร้อมทั้งสำรวจความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ต่อไป ผลการดำเนินงาน ดำเนินการในขั้นตอนที่ ๑ และขั้นตอนที่ ๒ แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนและแนวทางที่กำหนด (ต่อ)
ตัวชี้วัดที่ ๓.๓ ระดับความสำเร็จในการอนุรักษ์สืบทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและธำรงรักษาจารีตประเพณี พระราชพิธี รัฐพิธี ให้ถูกต้องตามโบราณราชประเพณี (น้ำหนักร้อยละ ๔) • การดำเนินการแบ่งเป็น ๒ โครงการ ได้แก่ • โครงการเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน • วโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา • “สุวรรณภูมิ อารยธรรมบนแผ่นดินไทย” • ๒. โครงการเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย • “คุณธรรม จริยธรรม ตามรอยพระโพธิสัตว์” • รูปแบบการนำเสนอ เป็นการบูรณาการงานของหน่วยงานตามภารกิจหลัก • ของกรมศิลปากร นำเสนอในรูปแบบการจัดนิทรรศการพิเศษ การจัดการ • แสดงนาฏศิลป์และดนตรี รวมทั้งจัดเสวนาทางวิชาการ ฯลฯ
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๔ความสำเร็จของการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและเผย แพร่สู่ประชาชน (น้ำหนักร้อยละ ๓) ความสำเร็จของการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและเผยแพร่สู่ประชาชน ได้แก่ผลงาน ดังนี้ ๓.๔.๑ การเผยแพร่ผลการด้านวรรณกรรมตามเป้าหมายที่กำหนด ๓.๔.๒ การเผยแพร่นาฏดุริยางคศิลป์ ๓.๔.๓ การเผยแพร่ถ่ายทอดความรู้ผลงานด้านศิลปกรรม ผลการดำเนินงาน : กรมศิลปากรได้จัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ ขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ
ตัวชี้วัดที่ ๓.๕ ระดับความสำเร็จของการจัดทำคุณภาพมาตรฐานของผู้สำเร็จการศึกษาด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และช่างศิลป์ (น้ำหนักร้อยละ ๒) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๑ :วิเคราะห์ข้อมูล และทบทวนแนวทางการจัดทำเกณฑ์มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาและพื้นฐานในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ขั้นตอนที่ ๒:นำผลการวิเคราะห์ ทบทวน ในขั้นตอนที่ ๑ มาใช้ประกอบการประชุมระดมความคิด เพื่อจัดทำการวิจัยคุณภาพของบัณฑิตและผู้สำเร็จการศึกษาระดับพื้นฐาน (หมายเหตุ : สำรวจจากบัณฑิตที่จบการศึกษา/ผู้ใช้บัณฑิต/สถานศึกษา,อาจารย์ที่รับนักเรียนเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี) ขั้นตอนที่ ๓ : ดำเนินการตามแผน/แนวทางการวิจัยที่กำหนด ขั้นตอนที่ ๔ :นำผลการวิจัยมาวิเคราะห์และสรุปผล ร่วมกับร่างเกณฑ์มาตรฐานฯที่จัดทำในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๙ มายกร่างเกณฑ์มาตรฐานฯ ขั้นตอนที่ ๕ :ยกร่างเกณฑ์มาตรฐานแล้วเสร็จ พร้อมจัดทำแนวทางการดำเนินงานในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ (ต่อ)
ตัวชี้วัดที่ ๓.๕ ระดับความสำเร็จของการจัดทำคุณภาพมาตรฐานของผู้สำเร็จการศึกษาด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และช่างศิลป์ (น้ำหนักร้อยละ ๒) • แต่งตั้งคณะทำงานฯ • คณะทำงานฯ ได้วิเคราะห์ข้อมูล และทบทวนแนวทางการจัดทำ • เกณฑ์มาตรฐานผู้สำเร็จการศึกษา • นำผลการวิเคราะห์ ทบทวน มาใช้ประกอบในการประชุมระดม • ความคิด เพื่อจัดทำการวิจัยคุณภาพของบัณฑิต • ดำเนินการในขั้นตอนที่ ๑ แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนที่ ๒ ผลการดำเนินงาน
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๖ระดับความสำเร็จของการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม(น้ำหนักร้อยละ ๔) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๑ :คัดเลือกแหล่งเรียนรู้เป้าหมายและจัดระดมความคิดเห็นร่วมกับกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เช่น กลุ่มเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา ฯลฯ เพื่อกำหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมในพื้นที่ ขั้นตอนที่ ๒ : - กำหนดรูปแบบการพัฒนาทางกายภาพ และจัดกิจกรรมที่จะดำเนินงานในแหล่งเรียนรู้ (กิจกรรมดังกล่าวเป็นการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ เช่น การสาธิต การแสดง การประชุมเชิงปฏิบัติการ การเล่านิทาน การละเล่น ฯลฯ) - ดำเนินการพัฒนาทางกายภาพ เช่น การปรับปรุงการจัดแสดง การจัดสิ่งอำนวยความสะดวก การปรับปรุงภูมิทัศน์ ฯลฯ (ต่อ)
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ตัวชี้วัดที่ ๓.๖ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม (น้ำหนักร้อยละ ๔) เกณฑ์การให้คะแนน ขั้นตอนที่ ๓ :จัดปฏิทินการเรียนรู้ เชื่อมโยงกับกิจกรรมของสถานศึกษาหรือชุมชนในพื้นที่ ขั้นตอนที่ ๔ :แหล่งเรียนรู้เป้าหมาย สามารถดำเนินการตามแผนได้แล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ ๕ :สรุปผลการดำเนินงานและทำการสำรวจความเห็น ทัศนคติ ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมากำหนดแนวทางการขยายผลการพัฒนาในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ต่อไป • ผลการดำเนินงาน : • แต่งตั้งคณะทำงานฯ • ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมาย
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๒ มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร
ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน (ต่อ)
ประเด็นการประเมินผล : การมีส่วนร่วมของประชาชน ดำเนินการในขั้นตอนที่ ๑
ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงาน : ขั้นตอนที่ ๕
ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงาน : ขั้นตอนที่ ๑
ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ผลการดำเนินงาน : จัดส่งรายงาน รอบ ๖ เดือน ให้ ป.ป.ช. ตามกำหนด
ประเด็นการประเมินผล : ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๓ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารงบประมาณ
ประเด็นการประเมินผล : การประหยัดพลังงาน ตัวชี้วัดที่ ๙ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของ ส่วนราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ ๒) การดำเนินการ ผลการดำเนินงาน : ระดับ ๕
ประเด็นการประเมินผล : การลดระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)
ประเด็นการประเมินผล : การลดระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)
ประเด็นการประเมินผล : การจัดทำต้นทุนต่อหน่วย (ตัวชี้วัดเลือก) ผลการดำเนินงาน : ระดับ ๓
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร มิติที่ ๔ มิติด้านการพัฒนาองค์กร
รายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ กรมศิลปากร ประเด็นการประเมินผล : การจัดการความรู้ ผลการดำเนินงาน : ระดับ ๓