1 / 167

กระบวนการและขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างในแต่ละวิธี

กระบวนการและขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างในแต่ละวิธี. หลักการบริหารพัสดุ. โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม. กระบวนการบริหารงานพัสดุ. กำหนดความต้องการ. งบประมาณ. จัดหาพัสดุ. จัดทำแผน. เบิกจ่ายเงิน. การบริหารสัญญา. การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ.

vito
Download Presentation

กระบวนการและขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างในแต่ละวิธี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการและขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างในแต่ละวิธีกระบวนการและขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างในแต่ละวิธี

  2. หลักการบริหารพัสดุ โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม

  3. กระบวนการบริหารงานพัสดุกระบวนการบริหารงานพัสดุ กำหนดความต้องการ งบประมาณ จัดหาพัสดุ จัดทำแผน เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ

  4. ข้อ 6 ระเบียบนี้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการซึ่งดำเนินการเกี่ยวกับการพัสดุโดยใช้ เงินงบประมาณ เงินกู้และเงินช่วยเหลือ

  5. ความหมาย ระเบียบฯ ข้อ ๕ พัสดุ คืออะไร วัสดุ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ ความหมาย-พัสดุ-เป็นไปตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายของ สำนักงบประมาณ(ด่วนที่สุด ที่นร๐๗๐๔/ว ๓๓ ลว.๑๘ ม.ค.๒๕๕๓)

  6. วัสดุ หมายถึง ๑.รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมีลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลือง /หมดไป/แปรสภาพ/ไม่คงสภาพเดิมและให้รวมถึงสิ่งของ ลักษณะคงทนถาวร ที่มีราคาต่อหน่วย:ต่อชุดไม่เกิน ๕ พันบาท ราคา ให้รวมถึงรายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกันเช่น ค่าขนส่ง ภาษีค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น ๒.รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาต่อหน่วยต่อชุดไม่เกิน ๒หมื่นบาท ๓.รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่/ดัดแปลง/ต่อเติม/ปรับปรุง ครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน ๕ พันบาท ๕.รายจ่ายเพื่อซ่อมแซม/บำรุง/รักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ แต่ไม่รวม ค่าจัดหาเครื่องยนต์ใหม่เพื่อใช้ซ่อมแซมรถยนต์ ๔.รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลงต่อเติม/ปรับปรุงที่ดินหรือสิ่งก่อสร้างที่มีวงเงิน ไม่เกิน ๕ หมื่นบาท

  7. ครุภัณฑ์ หมายถึง ราคา ให้รวมถึงรายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกันเช่น ค่าขนส่ง ภาษีค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น ๑.รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมี ลักษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วย:ต่อชุด เกินกว่า๕พันบาท ๒.รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลงต่อเติมปรับปรุงครุภัณฑ์ที่มีวงเงินเกินกว่า ๕พันบาท ๓.รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีราคาต่อหน่วย:ชุดเกินกว่า ๒หมื่นบาท ๕.รายจ่ายเพื่อจ้าง ที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ๔.รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่นเครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ/ไม่รวมซ่อมบำรุงปกติ,ค่าซ่อมกลาง

  8. ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อ (๓)ประกอบขึ้นใหม่/ดัดแปลงต่อเติม/ปรับปรุงสิ่งก่อสร้างให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีวงเงินเกินกว่า๕ หมื่นบาท (๒)ปรับปรุที่ดินให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีวงเงินเกิน ๕ หมื่นบาท (๑) จัดหาที่ดิน (๖)จ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง (๗)รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เช่นค่าเวนคืนที่ดิน/ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน/ค่าชดเชยผลอาสิน (๔)ติดตั้งระบบไฟฟ้า/ประปา รวมอุปกรณ์ต่างๆซึ่งติดตั้งครั้งแรกทั้งขณะ/ก่อนและหลังก่อสร้างอาคาร (๕)ออกแบบ /จ้างควบคุมงาน ที่จ่ายให้แก่เอกชนหรือนิติบุคคล

  9. ระเบียบข้อ 5 การจ้างที่ปรึกษา ประเภทของการจัดหา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การจัดทำเอง การเช่า การซื้อ การแลกเปลี่ยน การจ้าง

  10. ตามมติ ครม. แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้า ที่จะซื้อ หรือ กำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ข้อยกเว้น เว้นแต่เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะตามระเบียบฯข้อ 23(6) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ต้องใช้วิธีพิเศษ จะใช้สอบราคา หรือ ประกวดราคามิได้

  11. ความหมาย: การจ้าง การจ้างทำของ และการรับขน ตาม ปพพ. การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ การรับขนในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบ ควบคุมงาน และการจ้างแรงงาน

  12. การซื้อ/การจ้าง หมายความว่าอย่างไร? มติกวพ.ครั้งที่ ๕๑/๒๕๕๓(๒๓ ธ.ค.๒๕๕๓) การซื้อ หมายถึง ผู้ขายสินค้าได้มีการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของนั้นๆไว้แล้วตามตัวอย่าง /แค็ตตาล็อก เมื่อผู้ซื้อสั่งซื้อ ผู้ขายจะดำเนินผลิตตามตัวอย่าง/แค็ตตาล็อก -นอกจากนี้ ผู้ซื้อยังสามารถให้ผู้ขายจัดทำรายการใดๆเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากรูปแบบในตัวอย่าง/แค็ตตาล็อกเป็นพิเศษ อีกก็ได้ การจ้าง หมายถึง ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ออกแบบคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จะจ้างทำนั้นๆก่อน แล้วจึงจะนำแบบที่คิดไว้นั้นไปจ้างทำตามแบบที่ต้องการมีข้อหารือของหน่วยงานก. ซื้อรถยนต์ แต่ขอให้ผู้ขายติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆเพิ่มเป็นพิเศษ จึงถือได้ว่า เป็นงานซื้อ/มิใช่จ้าง

  13. การซื้อครุภัณฑ์ที่เป็นของใช้แล้วไว้ใช้ในราชการ กระทำไม่ได้ คำวินิจฉัยกวพ.(RFที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/๓๓๒๒๐ ลว.๒๐ ต.ค.๒๕๕๔) กรมประมงหารือว่า ตามที่ครม.มีมติแจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร ๐๒๐๓/ว ๗๒ ลว.๑๖ พ.ค.๒๕๒๓ และที่ นร ๐๒๐๒/ว๑๕๘ ลว ๑๒ ต.ค.๒๕๕๓ผ่อนผันให้ส่วนราชการซื้อครุภัณฑ์ใช้แล้วไว้ใช้ในราชการได้ ภายในวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หากเกินกว่า ๑๐๐,๐๐๐ บาท และเป็นครุภัณฑ์ที่จะนำไปใช้ในการอบรมหรือการสอนของส่วนราชการที่เป็นสถานศึกษา ให้เสนอสำนักงบประมาณพิจารณาอนุมัติเป็นรายๆ ไป จึงหารือว่า ขณะนี้ยังใช้ได้อยู่อีกหรือไม่ ? คำตอบเนื่องจากกวพ.ได้กำหนดตัวอย่างเอกสารประกวดราคาซื้อไว้ ตามหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ด่วนมาก ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๗๒๘๖ ลว.๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๒ สรุปว่า

  14. “พัสดุที่จะซื้อจะต้องเป็นของแท้ ของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็นของเก่าเก็บ อยู่ในสภาพที่จะใช้งานได้ดี และมีคุณลักษณะเฉพาะตรงตามที่กำหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาฉบับนี้” และหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ)๑๒๐๒/ว ๑๑๖ ลว. ๑ เมษายน ๒๕๓๕ ได้กำหนดตัวอย่างสัญญาซื้อขาย โดย ข้อ ๑ วรรคสองกำหนดว่า “ผู้ขายรับรองว่า สิ่งของที่ขายให้ตามสัญญานี้เป็นของแท้ ของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็นของเก่าเก็บ และมีคุณภาพและคุณสมบัติไม่ต่ำกว่าที่กำหนดไว้ในเอกสารแนบท้ายสัญญา” • ดังนั้น ในการจัดซื้อพัสดุตามระเบียบฯพ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ส่วนราชการจึงต้องถือปฏิบัติตามหนังสือแจ้งเวียนดังกล่าว ส่วนกรณีที่หารือว่ามติครม.ทั้งสองฉบับข้างต้นยังมีผลใช้บังคับอยู่หรือไม่ ขอให้หารือไปยังสำนักงบประมาณโดยตรงต่อไป

  15. งานจ้างก่อสร้าง คืองานอะไร (มติกวพ.ปี๕๒) • งานก่อสร้าง หมายถึง งานก่อสร้างตามหลักทั่วไป ที่มีกม. ระเบียบ /มติครม./ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ เช่น กวพ.แจ้งเวียน /ว ๑๙๓๙ ลว.๒๔ก.พ.๓๗ว่า-งานก่อสร้างหมายรวมถึง งานเคลื่อนย้ายอาคาร,งานดัดแปลง/ปรับปรุง ต่อเติม/ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง ที่หัวหน้าส่วนราชการเห็นว่าจำเป็นต้องมีผู้ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลา/ • มติครม.ว๑๓ มี.ค.๒๕๕๕- งานก่อสร้างอาคาร/ชลประทาน/ทาง สะพานและท่อเหลี่ยม • มติครม.ว๑ ลว.๓ ม.ค.๓๗ งานดินที่ไม่มีการดาดคอนกรีต ได้แก่ถนนลูกรัง/ถนนดิน/งานขุดลอกคู คลอง สระ หนอง เป็นงานก่อสร้าง • หลักพิจารณาว่าอะไรเป็นงานจ้างก่อสร้าง ได้แก่ • สัญญาซื้อขายที่มีงานก่อสร้าง หรือพร้อมติดตั้งโครงสร้างพื้นฐานรวมอยู่ด้วย • ให้พิจารณาว่า หากมีงานก่อสร้างเป็นสาระสำคัญ ซึ่งราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่ติดตั้ง ถือว่า เป็นงานก่อสร้าง เช่น งานติดตั้งสะพานลอยทางเดินข้ามถนน ก่อสร้างรั้ว

  16. งานก่อสร้าง จะต้องคำนวณราคากลางตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550 แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506/2362 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2550 และหนังสือที่ 7 มีนาคม 2550 ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม 2550 เป็นต้นไป

  17. ความหมาย: ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่ละโครงการ ซึ่งได้จากการประเมินหรือคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้าง แต่เป็นราคาที่ ทางราชการยอมรับไม่สูงจนผู้ประกอบการได้กำไรมากเกินกว่าที่ควรได้รับ และเป็นราคาที่ไม่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะดำเนินการก่อสร้างได้

  18. งานก่อสร้าง • งานก่อสร้าง จะต้องกำหนดค่า K • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2532แจ้งตาม หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0203/ ว 109 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2532 เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือ • ผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง • งานก่อสร้าง หรืองานซ่อมแซมอาคารวงเงินไม่เกิน 1 แสนบาท จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคาหรือไม่ ? • มติ ครม. 6 ก.พ.50 กำหนดให้ งานก่อสร้างทุกงาน ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง

  19. การมอบอำนาจ ผู้มีอำนาจ ดำเนินการ ตามระเบียบฯ (ส่วนกลาง อธิบดี ส่วนภูมิภาค ผู้ว่าฯ) ผู้รับมอบอำนาจ คำนึงถึงระดับ ตำแหน่ง หน้าที่และความรับผิดชอบ (จะมอบอำนาจให้แก่ผู้ดำรง ตำแหน่งอื่น ต่อไปไม่ได้) มอบอำนาจ

  20. ข้อยกเว้นเรื่องการมอบอำนาจ (ต่อ) มอบอำนาจต่อตามระเบียบกลาโหม ผู้มอบ อำนาจ มอบอำนาจให้แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดผู้ว่าฯ มอบอำนาจต่อ แจ้ง บุคคลอื่น รองผู้ว่าฯ , ผู้ช่วยผู้ว่าฯ , ปลัดจังหวัด , หัวหน้าส่วนราชการ ประจำจังหวัด ต้องได้รับความเห็นชอบ

  21. ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง นอกจากวิธีพิเศษ / กรณีพิเศษ • หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 50 ล้านบาท) • 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 50 ล้านบาท ไม่เกิน 100 ล้านบาท) • 3. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด (เกิน 100 ล้านบาท) • 4. ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

  22. ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง โดยวิธีพิเศษ 1. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 25 ล้านบาท) 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 25 ล้านบาท ไม่เกิน 50 ล้านบาท) 3. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด (เกิน 50 ล้านบาท) โดยวิธีกรณีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการไม่จำกัดวงเงิน

  23. ผู้มีหน้าที่ตามระเบียบฯพัสดุ ได้แก่ เจ้าหน้าที่พัสดุ/ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ/คณะกรรมการต่างๆ/ และผู้ควบคุมงาน

  24. ๑.เจ้าหน้าที่พัสดุ (ข้อ๕) แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๙ ๒.หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ (ข้อ ๕) โดยตำแหน่ง (ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับพัสดุ) โดยแต่งตั้ง -ข้าราชการ/พ.ราชการ/ พ.มหาวิทยาลัย/ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว โดยตำแหน่ง-ผอ.กองพัสดุ/หฝ./หน.งานพัสดุ โดยแต่งตั้ง - ข้าราชการ/พ.มหาวิทยาลัย ผู้มีหน้าที่ในการจัดหาพัสดุ(ต่อ) • โดยแต่งตั้ง ใช้กับกรณีไม่มีเจ้าหน้าที่พัสดุหรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุหรือมีไม่เพียงพอ หรือกรณีจะกระจายอำนาจดำเนินการจัดหาพัสดุไปให้หน่วยงานในสังกัดดำเนินการเอง

  25. คณะกรรมการต่าง ๆการซื้อ/การจ้างแต่ละครั้ง หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ ให้ทำหน้าที่ ตามที่ระเบียบฯพัสดุกำหนดทุกครั้ง

  26. คณะกรรมการในการซื้อ/จ้างคณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน • คณะกรรมการกำหนดราคากลาง(มติคณะรัฐมนตรี)

  27. ข้อห้าม !! • แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • เป็นกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผลการประกวดราคา เป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ

  28. องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ • ประธาน 1 คน • กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน • แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ** ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ** ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ (ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. (2552) )

  29. องค์ประกอบของคณะกรรมการ (ต่อ) • กวพ. อนุมัติให้ส่วนราชการสามารถแต่งตั้งลูกจ้างประจำของส่วนราชการเป็นกรรมการ ตามระเบียบฯ โดยการแต่งตั้งลูกจ้างประจำจะต้องคำนึงถึง ความรู้ ความสามารถ ลักษณะงาน หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 417 ลว. 22 ตค. 53) • ** การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป • (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)

  30. ปัญหา/การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับที่ไม่ถูกต้องปัญหา/การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับที่ไม่ถูกต้อง ข้อควรรู้ • งานซื้อ/จ้างทำของ/ • งานจ้างเหมาบริการ/งานจ้างรับขน/งานจ้างอื่นๆ • ให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • งานจ้างก่อสร้าง • ให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการจ้าง • ผู้ควบคุมงาน

  31. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ

  32. หลักการตามระเบียบฯ สำหรับการซื้อ / จ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท ตามระเบียบฯ ข้อ 35 วรรคท้าย ให้แต่งตั้งข้าราชการ / ลูกจ้างประจำคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ผู้จัดซื้อหรือ จัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างนั้น กวพ. อนุมัติผ่อนผันการแต่งตั้ง พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 341 ลว.20 กย. 53)

  33. กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่ เมื่อถึงกำหนดเวลาเปิดซองสอบราคา หรือ รับซองประกวดราคาให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะข้อ 42 (1) หรือข้อ 49 แล้วรายงานประธาน

  34. วิธีการจัดซื้อหรือจ้างวิธีการจัดซื้อหรือจ้าง

  35. วิธีการจัดซื้อจัดจ้างวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง • -วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • -วิธีสอบราคา เกิน100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • -วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • -วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • -วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • -วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) • ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49

  36. วิธีการจัดซื้อหรือจ้าง(6 วิธี) กรณี1: ใช้วงเงินเป็นตัวกำหนดวิธีการ • 1. วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท • 2. วิธีสอบราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท • 3. วิธีประกวดราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 2,000,000 บาทขึ้นไป

  37. กรณี2: ใช้วงเงินและเงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ • 4. ซื้อโดยวิธีพิเศษ • วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท • เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ 23 • จ้างโดยวิธีพิเศษ • วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท • เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ 24

  38. กรณี3: ใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนด 5. วิธีกรณีพิเศษได้แก่ การซื้อ/จ้างจากส่วนราชการ, รัฐวิสาหกิจ, หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น เงื่อนไข: 5.1) เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติหลักการแล้ว 5.2) มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ / จ้าง

  39. กรณี 4: อื่นๆ • การจัดซื้อ / จ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันใช้บังคับตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 • การซื้อ / การจ้าง ครั้งหนึ่งมีราคาตั้งแต่ 2,000,000 บาท • ต่ำกว่า เป็นดุลพินิจ

  40. แผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้างแผนผังขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ/จัดจ้าง ๑ เมื่อได้รับการจัดสรร/ได้รับทราบยอดเงินงบประมาณในการ จัดหาพัสดุแล้ว (ระเบียบฯ ข้อ ๑๓) งานจ้างก่อสร้าง-ออกแบบ แต่งตั้ง คกก.กำหนด ราคากลาง เจ้าหน้าที่พัสดุ งานซื้อ/จ้างทั่วไป กำหนดspec ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างทุกวิธี -ให้จัดทำรายงาน ขอซื้อ/จ้างเพื่อขอ ความเห็นชอบหน.ส่วนราชการก่อนทุกครั้ง ซื้อ/จ้างทั่วไป ต้องมีรายการ(ตามข้อ ๒๗) ซื้อที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง(ข้อ๒๘)

  41. เมื่อได้รับความเห็นชอบตามรายงานขอซื้อ/ขอจ้าง จากหัวหน้าส่วนราชการแล้ว -ให้เจ้าหน้าที่พัสดุดำเนินการจัดหาตามวิธีต่างๆ ได้แก่ ๓ วิธีประกวดราคา เกิน๒ล้านขึ้นไป (ข้อ ๒๑,๔๔-๕๖) วิธีตกลงราคา(ไม่เกินแสน) (ข้อ ๑๙,๓๙) วิธีสอบราคา (เกิน๑แสน-๒ล้าน) (ข้อ ๒๐,๔๐-๔๓) วิธีประกวดราคา ทางอิเล็กทรอนิกส์วงเงินตั้งแต่ ๒ล้าน ระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.๒๕๔๙ วิธีพิเศษ (เกิน ๑ แสนขึ้นไป) (ซื้อข้อ ๒๓,๕๗-จ้าง๒๔,๕๘) วิธีกรณีพิเศษ ไม่จำกัดวงเงิน (ข้อ ๒๖,๕๙)

  42. คัดเลือกได้ตัวผู้ขาย/รับจ้างแล้ว ให้คณะกรรมการฯทำบันทึกสรุปผลรายงานเสนอขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง(ผ่านหน.จนท.พัสดุ) ๕ ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง (ข้อ๖๕,๖๖,๖๗) จะพิจารณาอนุมัติสั่งให้ซื้อ/จ้างได้ตามที่คณะกรรมการเสนอ

  43. คกก.ตรวจรับฯส่งมอบสิ่งของ/งานคกก.ตรวจรับฯส่งมอบสิ่งของ/งาน ให้เจ้าหน้าที่พัสดุเพื่อนำไปลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สิน(ข้อ๑๕๑-๑๕๒) ๙ ๑๐ เจ้าหน้าที่พัสดุ ส่ง/แจกจ่ายพัสดุไปยัง หน่วยของผู้ใช้งาน (เบิก-จ่ายพัสดุ) ข้อ ๑๕๓-๑๕๔ ๑๑ การบำรุงรักษาพัสดุ ให้มีความคงทน /อยู่ในสภาพที่ดี สามารถใช้ได้ตลอดอายุการใช้งาน

  44. ๑๒ การตรวจสอบพัสดุประจำปี (ข้อ๑๕๕-๑๕๖) ก่อนสิ้นเดิอนกันยายนทุกปี -หน.ส่วนราชการ-แต่งตั้ง คกก.ที่มิไช่จนท.พัสดุ ตรวจสอบพัสดุ -ให้เริ่มตรวจวันทำการแรกของเดือนตุลาคม/ให้แล้วเสร็จ ภายใน ๓๐ วันทำการ นับแต่วันเริ่มดำเนินการตรวจสอบฯ หากพบว่าเสื่อมสภาพ,ชำรุด /สูญหาย ให้แต่งตั้ง คกก.สอบข้อเท็จจริง

  45. ๑๔ การจำหน่ายพัสดุเป็นสูญ กรณีพัสดุสูญไปโดยไม่มีตัวผู้รับผิด กรณีพัสดุสูญไปโดยมีตัวผู้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช้ตามหลักเกณฑ์ความรับผิดทางแพ่ง กรณียังมีตัวพัสดุอยู่แต่ไม่สมควรจำหน่ายตามระเบียบข้อ๑๕๗ ผู้มีอำนาจอนุมัติจำหน่าย (๑๕๙) ๑. วงเงินซื้อ/ได้มา รวมกันไม่เกิน ๕ แสน หน.ส่วนราชการ ๒. วงเงินซื้อ/ได้มา รวมกันเกิน ๕ แสน – กระทรวงการคลัง หรือที่กระทรวงการคลังมอบหมาย

  46. ๑๕ การลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน เมื่อดำเนินการตามข้อ ๑๕๐,๑๕๒ แล้ว ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน ๑.เมื่อดำเนินการตามข้อ ๑๕๗ แล้ว ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน • แล้วแจ้งสตง/สตง.ภูมิภาคภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันลงจ่าย ๒.เมื่อดำเนินการตามข้อ ๑๕๙แล้ว (หส.ราชการ อนุมัติให้จำหน่ายได้) ให้ลงจ่ายออกจากบัญชี/ทะเบียน • แล้วแจ้งกระทรวงการคลัง หรือผู้ที่กระทรวงการคลังมอบหมาย และสตง/สตง.ภูมิภาค ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันลงจ่าย พัสดุที่ต้องจดทะเบียนตามกม.ให้แจ้งต่อนายทะเบียนภายในเวลาที่กม.กำหนด • ก่อนตรวจสอบพัสดุประจำปี • ข้อ ๑๖๑ พบว่ามีกรณีพัสดุสูญ/เสื่อมไป/ชำรุดบกพร่อง • ให้ดำเนินการเรื่องความรับผิดทางแพ่ง หรือระเบียบนี้โดยอนุโลมแล้ว • หลังจากนั้นให้ดำเนินการจำหน่ายตามที่ระเบียบกำหนด

More Related