410 likes | 683 Views
พัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น. จรูญ จงกลกลาง ดร.นิธิดา บุรณจันทร์ รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. The Development of an Online Computer Instructional Package for Basic Hardware and Utility Subject. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
E N D
พัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้นพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น จรูญ จงกลกลาง ดร.นิธิดา บุรณจันทร์ รศ.สุวรรณา สมบุญสุโข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี The Development of an Online Computer Instructional Package for Basic Hardware and Utility Subject
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน 3) เพื่อหาประสิทธิผลทางการเรียนรู้ของผู้เรียน 4) เพื่อวัดความคงทนทางการเรียนรู้ของการใช้บทเรียน 5) เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1) บทเรียนออนไลน์วิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้นที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดและสามารถนำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน 2) ทราบผลของการหาประสิทธิภาพของบทเรียน 3) ทราบผลของการหาประสิทธิผลทางการเรียน 4) ผลของการวัดความคงทน 5) ทราบความพึงพอใจของผู้เรียน
สมมติฐานของการวิจัย 1) บทเรียนออนไลน์วิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้นที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ผู้เรียนมีประสิทธิผลทางการเรียนรู้สูงขึ้นมากกว่า 60% 3) ผู้เรียนมีความคงทนต่อการเรียนไม่ต่ำกว่า 30% 4) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี
ขอบเขตของการวิจัย • การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ครั้งนี้ ประกอบด้วย 6 หน่วยการเรียน • ระบบคอมพิวเตอร์ • ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ • การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ • การติดตั้งระบบปฏิบัติการ • โปรแกรมยูทิลิตี้ • การบำรุงรักษาเครื่อง
วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาพณิชยการ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1)บทเรียนออนไลน์วิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น • ได้ดำเนินการพัฒนา โดยยึดขั้นตอนในการพัฒนาตามแนวทางการพัฒนาบทเรียน IMMCIP:InteractiveMultimediaComputer Instruction Package ของ รศ.ไพโรจน์ ตีรณธนากุลและคณะซึ่งมีทั้งหมด 5 ขั้นตอนหลัก • 1.ขั้นวิเคราะห์ • 2.ขั้นออกแบบ • 3.ขั้นพัฒนา • 4.ขั้นสร้าง • 5.ขั้นประเมินผล • 5 ขั้นตอนหลัก • 16 ขั้นตอนย่อย
จัดลำดับเนื้อหา เรื่องไหนควรเรียนก่อน เรียนหลัง
- หาค่าความยากง่าย • หาค่าอำนาจจำแนก • หาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ (IOC) • - หาความเชื่อมั่นทุกแบบทดสอบ (ทั้งฉบับ)
แสดงผลการประเมินคุณภาพด้านมัลติมีเดียของบทเรียนโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน จากตาราง เมื่อพิจารณาระดับการประเมินด้านมัลติมีเดียโดยเฉลี่ยทุกด้าน ของคณะผู้เชี่ยวชาญมีค่าเท่ากับ 4.33 แสดงว่าบทเรียนมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดีมาก
ในกระบวนการของแต่ละหน่วยการเรียน E1= 91.64 ประสิทธิภาพของบทเรียน หลังกระบวนการเรียน E2=93.70 ดังนั้นบทเรียนมีประสิทธิภาพ 91.64/93.70 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80
แสดงประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียนแสดงประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียน เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้คือได้ผลตามเกณฑ์มากกว่า 60
การเปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบวัดผลสัมฤทธิ์ที่สอบหลังจากสอบไปแล้ว 2 สัปดาห์ ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบครั้งแรก 93.70และคะแนนเฉลี่ยของ การวัดซ้ำเมื่อเวลาห่างกัน 2 สัปดาห์ เท่ากับ 94.23 อยู่ในเกณฑ์ 30%
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน ค่าเฉลี่ยของทุกด้านมีค่า 4.12อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก
ภาพตัวอย่างของบทเรียนภาพตัวอย่างของบทเรียน
The Development of an Online Computer Instructional Package for Basic Hardware and Utility Subject Q&A