1 / 41

การจัดทำ KEY PERFORMANCE INDICATORS ( KPIs ) COMPETENCY

การจัดทำ KEY PERFORMANCE INDICATORS ( KPIs ) COMPETENCY. วันที่ 26-27-28 ตุลาคม 2549 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จ.นครนายก เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการพิเศษ 9. ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ/การดำเนินงานที่เกิดขึ้น เป็นไปอย่างประหยัดทรัพยากรและทันเวลา ที่กำหนด.

viola
Download Presentation

การจัดทำ KEY PERFORMANCE INDICATORS ( KPIs ) COMPETENCY

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำKEY PERFORMANCE INDICATORS (KPIs)COMPETENCY วันที่ 26-27-28 ตุลาคม 2549 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จ.นครนายก เสถียร คามีศักดิ์ เจ้าหน้าที่บุคคลชำนาญการพิเศษ 9

  2. ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ/การดำเนินงานที่เกิดขึ้น เป็นไปอย่างประหยัดทรัพยากรและทันเวลา ที่กำหนด

  3. ประสิทธิผล การบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการ ทั้งในด้านปริมาณและด้านคุณภาพ

  4. คุณภาพ การบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรม/โครงการอย่างครบถ้วนภายใต้การบริหารจัดการที่ดี

  5. PERFORMANCE EVALUATION เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ไม่ส่งผลถึงองค์กร

  6. PERFORMANEC APPRAISAL เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ส่งผลถึงองค์กร

  7. PERFORMANEC MEASUREMENT เป็นการวัดผลการปฏิบัติงานที่จะออกมาเป็นตัวเลข ที่จะให้คนพัฒนาไปถึง ระดับคะแนนเต็ม

  8. KEY PERFORMANCE INDICATOR(KPIs) *เป็นเครื่องมือวัดผลการดำเนินงานที่สำคัญของส่วนราชการ เพื่อแสดงถึงความสำเร็จหรือความกว้าหน้าเป็นเชิงปริมาณหรือตัวเลข(Quantifiable aspects) *เครื่องมือหรือดัชนีที่ใช้ในการวัดหรือประเมินว่าผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ (ภารกิจ)ขององค์กร/บุคคลเป็นอย่างไร จะต้องปฏิบัติบนพื้นฐานของเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ต้องสามารถวัดได้และต้องอธิบายได้อย่างชัดเจน

  9. KEY RESPONSIBLE AREAS (KRAs) สิงที่องค์กร/บุคคลต้องทำ หรือให้ความสนใจเพื่อจะทำให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ

  10. การกำหนด KPIs เป็นการพิจารณาว่าการดำเนินงานขององค์กรหรือบุคคลใน KRA แต่ละด้านเป็นอย่างไร KPIs คือสิ่งที่ต้องวัดหรือประเมิน เพื่อบ่งบอกว่าองค์กรหรือบุคคลประสบความสำเร็จใน KRAs ด้านนั้น ๆ

  11. วิธีการจัดทำ KPIs • นำเอาภาระงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการกอง /หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี อธิการบดี มาดูว่ามี • งานอะไรบ้างที่เป็นหน้าที่งานหลัก (ขั้นตอนตกลงร่วมกันระหว่างผู้ประเมินกับผู้รับการประเมิน)

  12. 2. พิจารณาดูว่า ลูกค้า/ผู้รับบริการ ของงานตามข้อ 1 เป็นใคร เขาต้องการอะไรส่วนใหญ่ คือ คุณภาพ เวลา ค่าใช้จ่าย ปริมาณ ความพึงพอใจ (วัตถุประสงค์ของงาน)

  13. 3.กำหนดเป็นตัวชี้วัดว่าจะวัดอะไร ตามความต้องการของลูกค้าผู้รับบริการ

  14. คุณสมบัติของดัชนี(SMART) Specific =เฉพาะเจาะจงชัดเจน Measurable= สามารถวัดได้ Achievable=สามารถบรรลุได้ Realistic=สอดคล้องกับความเป็นจริง เก็บข้อมูลได้ Timely=วัดได้เหมาะสมตามช่วงเวลาที่ กำหนด

  15. ความพึงพอใจผู้รับบริการ(RATER)ความพึงพอใจผู้รับบริการ(RATER) Reliability = ได้ตามที่ตกลง Assurance=มีความมั่นใจเชื่อถือได้ Tangible=เป็นรูปธรรมสัมผัส/เห็นได้ empathy=ได้รับการเอาใจใส่ Responsiveness =ได้รับบริการทันที

  16. ค่าของ KPIs แสดงเป็นตัวเลข ร้อยละ(PERCENTAGE) สัดส่วน(PROPORTION) อัตรา(RATE) อัตราส่วน(RATIO) จำนวน(NUMBER) ค่าเฉลี่ย(AVERAGE)

  17. 4.ต้องทำความเข้าใจร่วมกันระหว่างผู้ประเมินกับผู้รับการประเมินว่าจะประเมินอะไร เกณฑ์ประเมินเป็นอย่างไร จะให้คะแนนกันอย่างไร การเปรียบเทียบกันจะกำหนดค่าคะแนนแตกต่างกันย่างไร ต้องทำการจัดอบรมทีมประเมิน

  18. COMPETENCY สมรรถนะ/ขีดความสามารถ เป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร

  19. การวัดพฤติกรรมไม่ใช่เป็นการวัดความรู้ความสามารถ ต้องวัดว่าบุคคลมีพฤติกรรมที่แสดงสมรรถนะหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด

  20. สมรรถนะ เป็นส่วนหนึ่งของผลงาน เป็นพฤติกรรมที่เชื่อว่านำไปสู่ผลงานที่ต้องการ ดังนั้นการประเมินสมรรถนะจึงเป็นการประเมินที่ต้องมีการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ด้วยการจดบันทึกและทำการประเมิน

  21. ก่อนที่จะมีการประเมินสมรรถนะได้จำเป็นที่จะต้องทำความเข้าใจกับความหมายของสมรรถนะแต่ละสมรรถนะในแต่ละระดับ ตามพจนานุกรมสมรรถนะก่อนว่า หมายถึงอะไร

  22. วิธีการจัดทำCompetency ภาคเร่งรัด 1.ศึกษาค้นคว้าเก็บรวบรวมข้อมูลหน้าที่หลักของตำแหน่งงานทุกตำแหน่งในสังกัดสำนักงานอธิการบดี

  23. วิธีการจัดทำCompetency ภาคเร่งรัด 2.จัดเป็นกลุ่มงาน (JOB FAMILY) -ลักษณะงาน -วัตถุประสงค์/ผลสัมฤทธิ์ -ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้เสีย

  24. 3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 21 กลุ่มงาน 1.กลุ่มงานสนับสนุนทั่วไป 2.กลุ่มงานนโยบายและแผน 3.กลุ่มงานสนับสนุนทางเทคนิคเฉพาะด้าน 4.กลุ่มงานนิติกร 5.กลุ่มงานวิเทศสัมพันธ์

  25. 3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 21 กลุ่มงาน 6.กลุ่มงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 7.กลุ่มงานเจ้าหน้าที่บุคคล 8.กลุ่มงานกิจการนิสิต 9.กลุ่มงานการเงิน 10.กลุ่มงานพัสดุ

  26. 3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 21 กลุ่มงาน 11.กลุ่มงานบริการการศึกษา 12.กลุ่มงานประกันคุณภาพ 13.กลุ่มงานจัดการทรัพย์สิน 14.กลุ่มงานพัฒนากายภาพ 15.กลุ่มงานจัดการขนส่ง

  27. 3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 16.กลุ่มงานรักษาความปลอดภัย 17.กลุ่มงานสนับสนุนการวิจัย 18.กลุ่มงานบริหาร 19.กลุ่มงานชำนาญการ 20.กลุ่มงานบันทึกข้อมูลและอัดสำเนา 21กลุ่มงานตรวจสอบภายใน

  28. 3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี3.กลุ่มงานประจำสำนักงานอธิการบดี 16.กลุ่มงานรักษาความปลอดภัย 17.กลุ่มงานสนับสนุนการวิจัย 18.กลุ่มงานบริหาร 19.กลุ่มงานชำนาญการ 20.กลุ่มงานบันทึกข้อมูลและอัดสำเนา 21กลุ่มงานตรวจสอบภายใน

  29. 4. กำหนดสมรรถนะหลักคือสมรรถนะร่วมที่ทุกกลุ่มงานต้องมี 5 สมรรถนะ 1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2.การบริการที่ดี 3.การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4.จริยธรรม 5.ความร่วมแรงร่วมใจ

  30. 5.สมรรถนะประจำกลุ่มงาน คือ สมรรถนะเฉพาะกลุ่มงาน เพื่อสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงาน แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมแก่หน้าที่และส่งเสริมให้ปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น โดยให้แต่ละกลุ่มงาน กำหนดสมรรถนะ จากผลงานวิจัยของสำนักงาน ก.พ. จำนวน 20 สมรรถนะ ให้มีสมรรถนะประจำกลุ่มงานละ 3 สมรรถนะ กลุ่มผู้บริหาร(ผอ./หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้างาน) ให้มี 5 สมรรถนะ

  31. สมรรถนะด้านจริยธรรม ระดับที่ 0 ไม่แสดงพฤติกรรมด้านนี้อย่างชัดเจน

  32. ระดับ ที่ 1 มีความซื่อสัตย์สุจริต *ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต ถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบวินัย *แสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาชีพอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา

  33. ระดับที่ 2 มีระดับที่ 1 มีสัจจะเชื่อถือได้ *รักษาวาจา มีสัจจะเชื่อถือได้ พูดอย่างไรทำอย่างนั้น ไม่บิดเบือนอ้างข้อยกเว้นให้ตน *มีจิตสำนึกและภาคภูมิใจการเป็นข้าราชการ อุทิศแรงกายแรงใจผลักดันให้ภารกิจหลักบรรลุผล

  34. ระดับที่ 3 มีระดับที่ 2 ยึดมั่นในหลักการ *ยึดมั่นในหลักการและจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่เบี่ยงเบนด้วยอคติ/ประโยชน์ส่วนตน *เสียสละความสุขสบายมุ่งให้ภารกิจสัมฤทธิ์ผลเป็นสำคัญ

  35. ระดับที่ 4 มีระดับที่ 3 ธำรงความถูกต้อง *พิทักษ์ผลประโยชน์/ชื่อเสียง หน่วยงานประเทศชาติ แม้ในสถานการที่สร้างความลำบากใจ *ตัดสินใจในหน้าที่ด้วยความถูกต้องโปร่งใสยุติธรรม อาจสร้างศัตรู/ความไม่พอใจของผู้เกี่ยวข้อง

  36. ระดับที่ 5 มีระดับที่ 4 อุทิศตนเพื่อผดุงความยุติธรรม *ธำรงความถูกต้อง ยึดหลักพิทักษ์ประโยชน์ /ชื่อเสียงของหน่วยงาน/ประเทศชาติ แม้ในสถานการณ์ที่อาจเสี่ยง ต่อความมั่นคงในตำแหน่ง/ต่อชีวิต

  37. หลักสูตรการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรหลักสูตรการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากร • เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับผู้บริหาร • เพื่อให้บุคลากรตามตำแหน่งงาน พัฒนาความรู้ทักษะการปฏิบัติงาน ศึกษาปัญหา มีแนวทางแก้ไข รวมทั้งสร้างผลงาน เพื่อความกว้าหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน

  38. กรอบแนวคิด 1.เป็นบุคลากรที่มีเหตุมีผล 2.เป็นผู้ที่เชี่ยวชาญในงานอาชีพ 3.เป็นผู้ที่รู้รักสามัคคี 4.เป็นผู้ที่มีน้ำใจบริการ 5.เป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม

  39. หลักสูตร 1.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้บริหารระดับสูง 2.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้บริหาร ระดับกลาง 3.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้บริหารระดับต้น

  40. 4.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้ปฏิบัติงานแต่ละกลุ่มงาน4.การพัฒนาประสิทธิภาพผู้ปฏิบัติงานแต่ละกลุ่มงาน 5.การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ทำงานวิเคราะห์วิจัยและงานสร้างสรรค์ 6.การผลิตผลงานทางวิชาการ(คณาจารย์) 7.การพัฒนาประสิทธิภาพด้านการเรียนการสอน(คณาจารย์ผู้ไม่มีวุฒิทางการศึกษา)

  41. The End ขอขอบคุณ

More Related