1 / 25

คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน

ส. อ. ก. ธ. ร. โครงงาน. คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน. ท. พ. ก. ท. พ. ร. ก. ธ. ส. อ. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน. การเรียนภาษาไทยมีบทเรียนที่น่าสนใจมาก โดยเฉพาะบทเรียน

vinson
Download Presentation

คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อ ก ธ ร โครงงาน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน ท พ ก ท พ ร ก ธ ส อ

  2. ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน การเรียนภาษาไทยมีบทเรียนที่น่าสนใจมาก โดยเฉพาะบทเรียน เรื่อง คำราชาศัพท์ ซึ่งทางคณะผู้จัดทำมีความคิดเห็นว่า คำราชาศัพท์ เป็นเรื่องที่ยุ่งยากสำหรับผู้ที่ศึกษาแล้วไม่ได้นำไปใช้ ดังนั้น ทางผู้จัดทำ จึงได้จัดทำโครงงานภาษาไทยเรื่องคำราชาศัพท์ขึ้นเพื่อทำให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ ในคำราชาศัพท์มากขึ้น ทั้งยังได้รับความรู้เพิ่มเติมในด้านต่างๆเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวันคือหมวดใดบ้าง และมีบทบาทต่อการดำรงคงชีวิติของ เราอย่างไรบ้าง

  3. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ความรู้ในเรื่องคำราชาศัพท์ ๒. เพื่อนำคำราชาศัพท์ไปใช้ให้เหมาะสมกับแต่ละโอกาส ๓. เพื่อทำให้ผู้ศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น ๔. เพื่อทำให้ผู้ศึกษามีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ๕. เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผลงานในการทำโครงงาน

  4. ขอบเขตการศึกษาค้นคว้าขอบเขตการศึกษาค้นคว้า คำราชาศัพท์ที่มักพบในข่าวเป็นประจำ คำราชาศัพท์ที่ได้ใช้บ่อย คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใกล้ตัวเรา บทบาทของคำราชาศัพท์ต่อ การดำเนินชีวิต คำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอ นำคำราชาศัพท์มาใช้แล้วเกิด ประโยชน์อย่างไร

  5. 1. คำราชาศัพท์ที่มักพบเห็น ในข่าวเป็นประจำ ในชีวิติประจำวันของเราได้มีการพบปะผู้คนอยู่เสมอๆ เราสามารถนำคำราชาศัพท์มาใช้ได้ในรูปแบบต่างๆและปัจจุบันมักพบในโทรทัศน์ตามข่าวในพระราชสำนักจะมีการใช้คำราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ และโอกาสที่ใช้จะแตกต่างกันไปตามกาลเทศะ และความเหมะสมนั่นเอง ค่ะ.. ส่วนคำราชาศัพท์ที่ใกล้ตัวเรา ตัวอย่างเช่น คำราชาศัพท์ที่มักพบในบทเรียน คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระสงฆ์ และ ราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ ได้แก่ หมวดร่างกาย หมวดกิริยาแสดงอาการ คำราชาศัพท์ที่ใช้ตามพระอิสริยศักดิ์ ราชาศัพท์ที่ใช้เรียกเครือญาติคำที่ใช้เรียกเครื่องใช้ทั่วไปหรือภาชนะใช้สอย

  6. รูป อาราธนา ภัตตาหารประเคนฉันฉันถวายไทยธรรมอนุโมทนาอาสนะอาสนสงฆ์ธรรมาสน์เสนาสนะจำวัด สรง ลักษณะนามสำหรับพระภิกษุสงฆ์ ความหมายเท่ากับคำว่าองค์ ขอเชิญ อาหาร ยกของ ( ด้วยสองมือ ) ให้พระ กิน มอบให้ ของถวายพระ ( บางครั้งใช้ไทยทาน) ยินดีด้วย ที่นั่ง ที่นั่ง ที่แสดงธรรม สถานที่ที่ภิกษุใช้ นอน อาบน้ำ ราชาศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์ คำ / ศัพท์ คำแปล / ความหมาย

  7. มรณภาพ ปลงผม กุฏิจำพรรษา อุปสมบทบรรพชา ลาสิขาคิลานเภสัชลิขิตถาน อังสะ จีวร จังหัน ปัจจัย คำ / ศัพท์ คำแปล / ความหมาย ตาย โกนผมเรือนพักในวัดอยู่ประจำวัดบวช ( เป็นพระ )บวช ( เป็นสามเณร )ลาบวชยารักษาโรคจดหมายส้วมผ้าพาดบ่า ผ้าห่ม ของกิน เงินสิ่งของ

  8. คำราชาศัพท์สำหรับพระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์คำราชาศัพท์สำหรับพระเจ้าแผ่นดินและพระราชวงศ์ 1. พระเจ้าพี่นางเธอหมายถึงพระองค์เจ้าที่เป็นพี่สาวของพระมหากษัตริย์ 2. เจ้าน้องนางเธอ หมายถึง พระองค์เจ้าที่เป็นน้องสาวของพระมหากษัตริย์ 3. พระเจ้าหลานเธอหมายถึงพระองค์เจ้าที่เป็นหลานชายหรือหลานสาวของพระมหากษัตริย์ 4. พระเจ้าพี่นางเธอหมายถึงพระองค์เจ้าที่เป็นพี่สาวของพระมหากษัตริย์ 5. เจ้าเจ้าน้องนางเธอ หมายถึงพระองค์เจ้าที่เป็นน้องสาวของพระมหากษัตริย์ 6. พระเจ้าหลานเธอหมายถึงพระองค์เจ้าที่เป็นหลานชายหรือหลานสาวของพระมหากษัตริย์

  9. หมวดกิริยาแสดงอาการ คำที่ใช้เรียกกิริยาอาการมีวิธีตกแต่งดังนี้ ทรงระลึกถึงหมายถึงระลึกถึงใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงเล่าเรียนหมายถึง เรียน -ศึกษาใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ทรงยืน หมายถึง ยืน ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ทรงกระแอมหมายถึงกระแอมใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงอาเจียนหมายถึงอาเจียนใช้สำหรับพระราชวงศ์ ทรงช้าง หมายถึงขี่ช้างใช้สำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์

  10. หมวดกิริยา

  11. คำราชาศัพท์หมวดร่างกายคำราชาศัพท์หมวดร่างกาย

  12. หมวดขัตติยตระกูล

  13. หมวดเครื่องใช้

  14. หมวดคำสุภาพสำหรับคนทั่วไปหมวดคำสุภาพสำหรับคนทั่วไป การใช้ถ้อยคำสุภาพสำหรับบุคคลทั่วไป จะต้องรู้จักเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ กาลเทศะและบุคคล โดยคำนึงถึงฐานะ ความสัมพันธ์ที่มีอยู่การใช้ถ้อยคำสุภาพสำหรับบุคคลทั่วไปควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ใช้คำสรรพนามที่แสดงความสุภาพ เช่น คุณ ผม ดิฉัน กระผม ๒. ใช้คำขยายเพื่อให้สุภาพ เช่นคำว่า กรุณา ขอโทษ โปรด อนุเคราะห์ เป็นต้น ๓. ใช้คำลงท้ายหรือคำเรียกขานทุกครั้งที่จบคำถามหรือคำตอบคำเหล่านี้ เช่นคำว่า ครับ ค่ะ ๔. ไม่เป็นคำหยาบ เช่น ขี้ เยี่ยว อ้าย อี ควรใช้คำว่า อุจจาระ ปัสสาวะ สิ่งนี้ สิ่งนั้น เป็นต้น ๕. ไม่เป็นคำผวน คือ คำที่พูดกลับเสียงเดิมแล้วเป็นคำที่ไม่สุภาพ

  15. ตัวอย่างคำสุภาพ

  16. ราชาศัพท์ที่ใช้ต่างกันตามพระอิสริยศักดิ์ราชาศัพท์ที่ใช้ต่างกันตามพระอิสริยศักดิ์ 1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เช่น ราชาศัพท์ คำสามัญ พระราชโองการ คำสั่ง พระบรมราโชวาท โอวาท พระราชดำรัส คำพูด(ใช้เมื่อพูดเป็นกลางๆ) พระราชกระแสรับสั่ง คำพูด(ใช้เมื่อพูดกับผู้ใดผู้หนึ่ง) วันพระบรมราชสมภพ วันเกิด พระชนมพรรษา...พรรษา อายุ...ปี 2.สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนาถ เช่น ราชาศัพท์ คำสามัญ พระราชเสาวนีย์ คำสั่ง พระราโชวาท โอวาท พระราชดำรัส คำพูด(ใช้เมื่อพูดเป็นกลางๆ) พระราชกระแสรับสั่ง คำพูด(ใช้เมื่อพูดกับผู้ใดผู้หนึ่ง) วันพระราชสมภพ วันเกิด พระชนมพรรษา...พรรษา อายุ...ปี

  17. 3. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมารเช่น ราชาศัพท์ คำสามัญ พระราชบัณฑูร คำสั่ง พระราโชวาท โอวาท พระราชดำรัส คำพูด พระราชกระแสรับสั่ง คำพูด วันพระราชสมภพ วันเกิด พระชนมพรรษา...พรรษา อายุ...ปี พระมหากรุณาธิคุณ พระคุณ พระมหากรุณา ความกรุณา ลายพระราชหัตถ์ จดหมาย ราชาศัพท์ที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นราชาศัพท์ที่กำหนดให้ใช้ต่างกันตาม พระอิสริยศักดิ์ของพระบรมวงศ์ชั้นสูงเท่านั้น คำราชาศัพท์อื่นๆ ไม่ได้กำหนดให้ใช้แตกต่างกันจึงไม่ได้นำมากล่าวในที่นี้

  18. ข้อควรจำเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอข้อควรจำเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอ 1.“ถวายการต้อนรับ”คำนี้ผิด  ภาษาไทยมีคำใช้อยู่แล้ว  คือ  “เฝ้าฯ รับเสด็จ”  หรือ  “รับเสด็จ” 2.  “อาคันตุกะ”และ  ”ราชอาคันตุกะ”  ใช้ต่างกันดังนี้        “อาคันตุกะ”  ใช้เมื่อก.พระมหากษัตริย์เสด็จฯ  ไปทรงเป็นแขกของบุคคลสำคัญข.บุคคลสามัญไปเป็นแขกของบุคคลสามัญ        “ราชอาคันตุกะ”  ใช้เมื่อก.  พระมหากษัตริย์เสด็จฯ  ไปทรงเป็นแขกของพระมหากษัตริย์ ข.บุคคลสามัญไปเป็นแขกของพระมหากษัตริย์ 3.  “ถวายความจงรักภักดี”ความจงรักภักดีเป็นของที่หยิบยื่นให้กันไม่ได้  เป็นสิ่งที่มีประจำตนแสดงปรากฏให้ทราบได้  ฉะนั้นใช้  “ถวาย”  ไม่ได้  จึงควรใช้  “มีความจงรักภักดี”.

  19. 4.  การใช้คำ  “ถวาย”มีใช้อยู่สองคำ  คือ  “ทูลเกล้าฯถวาย”  และ  “น้อมเกล้าฯ ถวาย”  ใช้ต่างกันดังนี้ก.ถ้าสิ่งของนั้นเป้นของเล็กใช้  “ทูลเกล้าฯ” ข.ถ้าสิ่งของนั้นเป็นของใหญ่ใช้  “น้อมเกล้าฯ  ถวาย”  หรือ  “ถวาย”  เฉยๆ 5. คำว่า  “ขอบใจ”ถ้าจะกล่าวว่า  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงขอบใจ  ก็ใช้ว่า  “ทรงขอบใจ”  หรือ“พระราชทานกระแสขอบใจ”  ไม่ใช้  “ขอบพระทัย”  เว้นแต่ผู้ที่ทรงขอบใจนั้นเป็นพระราชวงศ์จึงใช้ “ขอบพระทัย”ได้๖.เมื่อกล่าวถึงการแสดงใด ๆ  ถวายทอดพระเนตร  มักจะใช้ว่า  “แสดงหน้าพระพักตร์”  หรือ  “แสดงหน้าพระที่นั่ง”  ซึ่งผิด  ต้องใช้ว่า  “แสดงเฉพาะพระพักตร์”  หรือ  “แสดงหน้าที่นั่ง”๗.  ถ้ามีผู้ถวายสิ่งของ  เช่น  หมวก  ผ้าเช็ดหน้า  ฯลฯขณะที่ถวายนั้นต้องใช้คำสามัญจะใช้คำราชาศัพท์มิได้เพราะสิ่งของนั้นยังมิได้เป็นของพระองค์ท่าน  เช่น        -  เจ้าของร้านทูลเกล้าฯ ถวายหมวกแด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี

  20. ข้อสังเกตบางประการในการใช้ราชาศัพท์ข้อสังเกตบางประการในการใช้ราชาศัพท์ คำที่เป็นราชาศัพท์ ถ้าเป็นคำนามมักมีคำว่า พระ หรือ พระราช นำหน้า เช่น พระองค์ พระพักตร์ พระเนตร พระบาท พระราชทรัพย์ พระราชวินิจฉัย พระราชโทรเลข ถ้าเป็นคำกริยา มักมีคำว่า ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นำหน้า เช่น ทรงยืน ทรงทักทาย ทรงเรือใบ ทรงม้า ทรงพระสรวล ทรงพระดำริ ทรงพระอักษร ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงพระราชปรารภ ทรงพระราชวินิจฉัย คำบางคำเป็นกริยาราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ต้องมี ทรง ทรงพระ หรือ ทรงพระราช นำหน้า เช่น เสวย (กิน)บรรทม(นอน) โปรด(ชอบ,รัก)พระราชทาน(ให้) ประทับ(นั่ง)กริ้ว(โกรธ) เสด็จพระราชดำเนิน(เดินทางไป) สด็จขึ้น(ขึ้น)

  21. ความสำคัญของราชาศัพท์ความสำคัญของราชาศัพท์ อันที่จริงราชาศัพท์มิได้หมายถึงถ้อยคำที่ใช้กับพระราชาเท่านั้นหากแต่หมายถึงถ้อยคำที่ใช้พูดถึงบุคคลเรื่องราวและสิ่งทั้งปวงที่กล่าวหรือเขียนอย่างถูกหลักเกณฑ์เป็นคำสุภาพไม่หยาบกระด้างน่ารังเกียจสมควรจะกราบบังคมทูลพระกรุณาหรือใช้เป็นภาษาทางการเป็นภาษาแบบแผน เช่น ใช้ว่าเจ้านายตรัสคนพูดนกร้องสุนัขเห่าราชาศัพท์โดยความหมายอย่างกว้าง จึงหมายถึงถ้อยคำภาษาที่สุภาพถูกแบบแผนสำหรับใช้กับบุคคลทุกประเภทตลอดจน เทพยดา อมนุษย์แม้กระทั่งสัตว์จตุบาททวิบาทและสรรพสิ่งเรื่องราวทั้งปวง ราชาศัพท์มีหลักเกณฑ์เป็นระบบเหมาะกับยุคสมัยและบริบททางสังคมสอดคล้องกับธรรมชาติของภาษาเป็นที่นิยมยอมรับร่วมกันราชาศัพท์ประกอบด้วยคำศัพท์และสำนวนที่มีความหมายกระชับเหมาะสมถูกต้องตามหลักภาษาไทยและมีความไพเราะน่าฟังสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิผลฉะนั้นการใช้ราชาศัพท์นอกจากจะเป็นการรักษาแบบแผนทางภาษาที่ดีงามไว้แล้วยังเป็นการแสดงออกถึงความเคารพที่บุคคลพึงมีต่อบุคคลอื่นที่ควรเคารพ สรุปได้ว่าราชาศัพท์มีความสำคัญทั้งทางสังคมและวัฒนธรรมรวมทั้งสุนทรียลักษณ์เชิงภาษาอีกด้วยดังตัวอย่างต่อไปนี้

  22. ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์ เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุดของ ประเทศมาแต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบแน่น คำราชาศัพท์นั้นเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีงามทางด้านการใช้ภาษาไทย และการอ่านหรือศึกษาวรรณคดี การรับสารสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านี้ล้วนต้องมีคำราชาศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมอ ดังนั้นการเรียนรู้คำราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้ง ทางตรงและทางอ้อม

  23. ๑. ประโยชน์ทางตรง : เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่ ๑. ประโยชน์จากการใช้คำราชาศัพท์ถูกต้อง ที่เรียกว่าใช้คำราชาศัพท์ถูกต้องนั้น คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควรใช้ราชาศัพท์ขั้นไหน อย่างไร ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใช้คำราชาศัพท์หรือไม่เพียงใด และถูกต้องตามวิธีการใช้ คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยม การใช้คำราชาศัพท์ต้องใช้ทั้งความรู้และประสบการณ์เป็นดุลยพินิจให้ถูกต้อง ๒. ประโยชน์จากการเข้าใจที่ถูกต้อง ไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ เช่น วรรณคดี วรรณกรรม หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิง ภาพยนตร์ ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คำราชาศัพท์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ

  24. ๒. ประโยชน์ทางอ้อม: เป็นผลพลอยได้ แม้ตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตั้งเป้าหมายไว้ก็ตาม คือ เมื่อรู้คำราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคำราชาศัพท์เข้าใจผลประโยชน์พลอยได้ก็จะเกิดขึ้นเสมอ เช่น - ธำรงรักษาวัฒนธรรมอันดีงานของชาติไว้ คือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ ถือเป็นการธำรงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศชาติ - เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล คือ บุคคลผู้รู้และใช้คำราชาศัพท์ได้อย่างถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา

  25. แหล่งอ้างอิง ขอขอบคุณข้อมูลจาก • http://www.trueplookpanya.com • article.konmun.com/know308.htm • http://rachasub.blogspot.com/ • www.thainame.net/weblampang/nanoi/na7.html • http://www.jd.in.th/e_learning/th41102/pan08/htm/lajasab.htm • http://www.thainame.net/weblampang/nanoi/na8.html

More Related