1 / 13

ความสำคัญและคุณภาพของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย (เน้นงานวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัย)

ความสำคัญและคุณภาพของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย (เน้นงานวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัย). ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 28 สิงหาคม 2551. ความสำคัญ ของการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์.

Download Presentation

ความสำคัญและคุณภาพของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย (เน้นงานวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัย)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความสำคัญและคุณภาพของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย(เน้นงานวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัย)ความสำคัญและคุณภาพของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย(เน้นงานวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ในมหาวิทยาลัย) ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 28 สิงหาคม 2551

  2. ความสำคัญของการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ความสำคัญของการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ • บัณฑิตศึกษาควรได้รับการฝึกให้เผยแพร่ผลงานวิจัยในทุกประเภท (วารสาร ที่ประชุมวิชาการ และสิทธิบัตร) • ถือเป็น contributions ที่เป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อวงการวิชาการ และสังคม • ฝึกนิสัยการเขียนและสรุปใจความสำคัญของงานทั้งหมดก่อนจบการศึกษา (อาจรวมถึงการฝึกภาษาด้วย) • เป็นฉบับย่อของสาระและบทสรุปที่สำคัญ สามารถเข้าใจได้ในเวลาสั้น • ถือเป็นกลไกการกลั่นกรองคุณภาพผลงานอีกครั้งหนึ่ง (นอกเหนือจากกรรมการวิทยานิพนธ์) โดยกระบวนการ peer review (blinded or double blinded) • เป็นการผลิต ป.เอก ในประเทศ มาตรฐานสากล (ป.เอก ที่ต้องตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ) ยกระดับคุณภาพวิชาการ • แสดงให้เห็นถึงความสามารถทางการวิจัย ของบุคคล หน่วยงาน และประเทศ (รวมถึง track record และ promotion ต่างๆ เป็นต้น)

  3. คุณภาพผลงานตีพิมพ์จากผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาโทและเอกคุณภาพผลงานตีพิมพ์จากผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาโทและเอก • งานวิจัยป.โทและเอก ควรมีคุณภาพและการเผยแพร่มาตรฐานเดียวกันยกเว้น เงื่อนไขของปริมาณงานและระยะเวลาจบการศึกษา (งานวิจัยกัดติดและต่อเนื่องมักไม่พบปัญหาเรื่องเงื่อนไขระยะเวลา) • การเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ มีระบบ peer review ที่เข้มข้นกว่าในระดับชาติ (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้าน ว และ ท) • คุณภาพผลงานที่เสนอด้วยวาจากับด้วยโปสเตอร์ ใกล้เคียงกัน การนำเสนอโปสเตอร์อาจได้รับ comments ที่เป็นประโยชน์มากกว่า • การได้รับการตีพิมพ์ ไม่ได้แปลว่า ผลงานวิจัยมีคุณภาพเสมอไป คุณภาพเริ่มชัดเจนเมื่อผลงานได้รับการอ้างอิง (citations) • ปัจจุบันมีการจัดลำดับหรือแบ่งเกณฑ์คุณภาพของวารสารวิชาการโดยเฉพาะในระดับนานาชาติ ที่นิยมและเป็นที่รู้จักคือ ค่า Journal Impact Factors (JIF)

  4. Journal Impact Factors (JIF)กับการตีพิมพ์ผลงานวิจัย(เน้น ว และ ท) • การตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารที่มีค่า JIF แสดงว่า ผลงานอยู่ในสื่อที่มีผู้อ่านอย่างแน่นอนและผู้อ่านเข้าถึงได้ไม่ยากนัก (visibility) • วารสารที่มี JIF แสดงว่า มีการตีพิมพ์สม่ำเสมอ มีการตรวจสอบคุณภาพของลงพิมพ์ สามารถสืบค้นได้ เนื้อหามีความทันสมัย มีการอ่านและนำไปใช้อ้างอิง (อ้างอิงจากเกณฑ์การคัดเลือกวารสารเข้าฐาน SCI SSCI และ AHCI) • วารสารที่มี JIF แตกต่างกัน ไม่ได้หมายความว่า มีคุณภาพแตกต่างกัน ทั้งนี้ ต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น สาขาวิชา การยอมรับของนักวิชาการในสาขา ดัชนีวัดคุณภาพอื่นๆ เป็นต้น • ค่า JIF ในสาขา ว และ ท ค่อนข้างไปในทิศทางเดียวกับคุณภาพโดยรวมของวารสาร ในขณะที่วารสารในมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพและค่า JIF ที่แน่นอน

  5. Journal Impact Factors (JIF)กับการตีพิมพ์ผลงานวิจัย (เน้นด้าน ว และ ท) (ต่อ) • บอกคุณภาพผลงานไม่ได้ 100% เป็นได้เพียงหนึ่งในเครื่องมือวัดคุณภาพที่ต้องใช้ร่วมกับเครื่องมือวัดอื่นๆ และ • ปัจจุบันค่า JIF สามารถ manipulate ได้โดย contributors, editors และ publishers(วารสารมี total articles สูง manipulate ได้ยากกว่า) ดังนั้น ต้องใช้ค่า JIF อย่างระมัดระวัง • คุณภาพผลงานที่แท้จริงคือ การที่ผลงานถูกอ้างอิง ไม่ใช่การผลงานอยู่ในวารสารที่มี JIF เพราะ JIF คือการถูกอ้างอิงของวารสาร ซึ่งอาจไม่ใช่ ทุกบทความในวารสารนั้นถูกอ้างอิง • คุณภาพบทความควรพิจารณาค่า JIF ควบคู่กับ citation counts ของบทความที่กำลังสนใจในวารสารนั้นๆ ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา • Article impact factors (AIF) หรือ Person impact factors (PIF) สำคัญกว่าค่า JIF.

  6. ผลงานตีพิมพ์ในวารสารไทยหรือในที่ประชุมวิชาการในประเทศผลงานตีพิมพ์ในวารสารไทยหรือในที่ประชุมวิชาการในประเทศ • วารสารไทยมีกำหนดการตีพิมพ์ไม่แน่นอนและไม่ต่อเนื่อง (เนื่องจากไม่มีต้นฉบับให้พิจารณาเพียงพอ) • ระบบ peer review ไม่เข้มข้น (โดยเฉพาะในที่ประชุมวิชาการ) เพราะฉะนั้น การได้รับการตีพิมพ์ ไม่ได้แปลว่า ผลงานวิจัยมีคุณภาพ เสมอไป • ระบบการจัดการวารสารไม่ดีพอ (เป็นงานฝากทำ งบประมาณต่ำ ไม่มีการประชุมกองบรรณาธิการ เน้นงาน routine เป็นต้น) • ผลงานที่ลงพิมพ์ในวารไทยเป็นผลงานคุณภาพเกรดรอง(ผลงานเกรด A อยู่ในวารสารนานาชาติ) • วารสารแต่ละชื่อเรื่องตีพิมพ์บทความทุกสาขาวิชา ขาดเอกลักษณษ์ของวารสาร ไม่น่าสนใจ • มีการเผยแพร่และมีผู้อ่านและอ้างอิงอยู่ในวงแคบ (very lowcitations and low JIF) [Ref. TCI-JIF]

  7. ปริมาณวารสารไทยในฐานข้อมูล TCI(ตามหน่วยงานที่ผลิตวารสาร) จำนวนวารสารในฐานข้อมูลปี 2550-53 จะเป็น300 รายการ

  8. วารสารของคณะวิชา วารสารของหน่วยงานราชการ • จำนวนวารสาร 82รายการ • จำนวนบทความ8,282บทความ • ถูกอ้างอิง 2,743 ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.331 ครั้ง/บทความ • (ส่วนมากเป็นการอ้างอิงในวงแคบ) • จำนวนวารสาร 18 รายการ • จำนวนบทความ1,414 บทความ • ถูกอ้างอิง 628 ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.444 ครั้ง/บทความ วารสารของมหาวิทยาลัย • จำนวนวารสาร 40 รายการ • จำนวนบทความ 5,120 บทความ • ถูกอ้างอิง 1,083 ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.212 ครั้ง/บทความ • (ส่วนมากเป็นการอ้างอิงในวงกว้าง) ข้อมูลของวารสารไทยในฐานข้อมูล TCI ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2549 จำแนกตามหน่วยงานที่ผลิตวารสาร วารสารของสมาคมวิชาชีพ • จำนวนวารสาร 26 รายการ • จำนวนบทความ 6,368 บทความ • ถูกอ้างอิง 5,101ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.801ครั้ง/บทความ จำนวนบทความทั้งหมด21,184บทความ ถูกอ้างอิงทั้งหมด 9,555ครั้ง อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิงโดยรวม 0.451 ครั้ง/บทความ

  9. สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ • จำนวนวารสาร 49 รายการ • จำนวนบทความ 9,324บทความ • ถูกอ้างอิง 6,954ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.746ครั้ง/บทความ • จำนวนวารสาร 51รายการ • จำนวนบทความ 3,371 บทความ • ถูกอ้างอิง 595 ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.177 ครั้ง/บทความ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • จำนวนวารสาร 47 รายการ • จำนวนบทความ 6,612 บทความ • ถูกอ้างอิง 1,780 ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.269 ครั้ง/บทความ ข้อมูลของวารสารไทยในฐานข้อมูล TCI ระหว่างปี พ.ศ. 2544-2549 จำแนกตามสาขาวิชาของวารสาร สาขาวิชาผสม • จำนวนวารสาร 19 รายการ • จำนวนบทความ 1,877 บทความ • ถูกอ้างอิง 226 ครั้ง • อัตราส่วนที่ถูกอ้างอิง 0.120 ครั้ง/บทความ

  10. สรุปของการตีพิมพ์หรือเผยแพร่สรุปของการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ • การได้รับการตีพิมพ์ไม่ได้แปลว่าผลงานวิจัยมีคุณภาพเสมอไป • คุณภาพวารสารไทย และที่ประชุมวิชาการไทย ยังไม่เข็มแข็งเพราะขาดระบบ peer review ที่เข้มข้น ไม่แน่ใจเรื่องคุณภาพผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ (ดูจาก การบริหารจัดการ และ low citations) • วารสารที่มีค่า JIF แสดงว่า ผลงานอยู่ในสื่อที่ผู้อ่านเข้าถึงได้ และแสดงว่า วารสารมีการตีพิมพ์สม่ำเสมอ มีระบบ peer review • คุณภาพผลงานวิจัย อาจเริ่มเกิดขึ้นเมื่อได้รับการตีพิมพ์ในสื่อพิมพ์ที่มี peer review ที่เข้มข้น และคุณภาพเริ่มชัดเจนเมื่อผลงานวิจัยได้รับการอ้างอิง (citations) • คุณภาพผลงานที่แท้จริงคือ การที่ผลงานถูกอ้างอิง ไม่ใช่การผลงานอยู่ในวารสารที่มี JIF

  11. Ranking of publication quality • Number of articles in journals • Publication in inter. J (preferably indexed in SCI database) • Articles in journals with high journal impact factors, • Publication credits, • Citation counts, • Article impact factors • Person impact factors (% contribution) • Merit of the article contents

  12. Thank you

  13. ค่า JIF ในปี 50 = วารสาร A 2548 2549 2550 จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ 35 40 45 จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิงทั้งหมด 100 30 - บทความในปี 48 ถูกอ้างอิงในปี 50 ครั้ง - บทความในปี 49ถูกอ้างอิงในปี 50 20 ครั้ง - บทความในปี 50ถูกอ้างอิงในปี 50 10 ครั้ง 20 + 30 50 = = 0.666 40 + 35 75 10 ค่า JII ในปี 50 = = 0.222 45

More Related