340 likes | 545 Views
สถานการณ์โรคติดต่อ จังหวัดอุบลราชธานี. วันที่ 27 ตุลาคม 2557. ประเด็นสำคัญ. สถานการณ์ โรคติดเชื้อ ไวรัส อีโบ ล่าใน แอฟ ริกา ตะวันตก ตั้งแต่เดือน กพ. - 27 ตค . 57 มีผู้ป่วยรวม 10,114 ราย เสียชีวิต 4,912 ราย (อัตราป่วยตาย 60-90% )
E N D
สถานการณ์โรคติดต่อ จังหวัดอุบลราชธานี วันที่ 27 ตุลาคม 2557
ประเด็นสำคัญ • สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสอีโบล่าในแอฟริกาตะวันตก • ตั้งแต่เดือนกพ.-27 ตค.57มีผู้ป่วยรวม 10,114 ราย เสียชีวิต 4,912 ราย (อัตราป่วยตาย 60-90%) • พื้นที่ระบาด 5ประเทศ คือ กีนี ไลบีเรีย เซียร่าลีโอน • เมืองลากอส ประเทศไนจีเรีย และคองโก • ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาด ให้ทีม SRRT โทรศัพท์สอบถาม คัดกรองไข้ทุกรายจนครบ 21 วัน หากพบว่ามีไข้เกิน 38 C. จะประสานให้รถ รพศ.ไปรับมารักษาทันที ที่ รพศ. • รายงาน สสจ.ทันที / รายงานสำนักระบาดทันที เพื่อส่งทีมมาสอบสวนและเก็บตัวอย่าง • รพศ. เตรียมห้องแยก และ PPE ให้พร้อมระดับสูงสุด
ประเด็นสำคัญ • ผู้ป่วยมาลาเรีย 6,910 ราย อัตราป่วย 347.9 ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 2 ราย ที่อำเภอนาจะหลวย • อัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดยะลา • (แต่มีจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดในประเทศไทย) • PV 52.5% : PF 46.4% : PV+PF 1.1% • ขอความร่วมมือทั้ง 3 อำเภอ นาจะหลวย บุณฑริก น้ำยืน • เร่งประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เรื่องการป้องกันแก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้าป่า • และการมาตรวจรักษาเร็วเมื่อมีอาการไข้ • ที่โรงพยาบาล /คลินิกมาลาเรีย จัดหาเวชภัณฑ์ให้เพียงพอ • ให้ อสม. ติดตามผู้ป่วยให้รับประทานยาสม่ำเสมอ ให้ครบทุกคน ที่มา : ข้อมูลมาลาเรียจาก Biophics ณ วันที่ 27 ตค.57 (จาก รง.506+ MC+MP ที่ตัดซ้ำแล้ว)
ประเด็นสำคัญ • ผู้ป่วยไข้เลือดออก 411ราย อัตราป่วย 22.8ต่อแสน ปชก. เสียชีวิต 3 ราย (โขงเจียม 2 / ศรีเมืองใหม่ 1)ขอให้เร่งรัดการ คัดกรองผู้ป่วยที่มีไข้ด้วยการทำทูนิเกย์ทุกราย Admit และส่งต่อ ให้เร็ว การควบคุมโรคให้เร็วภายใน 24 ชม. และให้มีคุณภาพ (HI/CI = 0) • สถานการณ์โรคตาแดง 23,393ราย อัตราป่วย 1,285.3 ต่อแสน ปชก.มีการระบาดสูงสุดในเดือนสิงหาคม (10,094 ราย) และลดลงในเดือนกันยายน – ตุลาคม หากพบการระบาดเป็นกลุ่มก้อนให้ เร่งสอบสวนควบคุมโรคภายใน 24 ชม. เน้นการล้างมือด้วยสบู่ และน้ำ การคัดแยกผู้ป่วย งดการสัมผัสผู้อื่น ให้การหยุดเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหาย พบแพทย์เพื่อรักษา
อัตราป่วยโรคมาลาเรีย ประเทศไทยปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 มค.– 27 ตค.2557 • ประเทศไทย • ผู้ป่วยรวม 25,173 ราย • อัตราป่วย 37.01 ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 3 ราย (0.01%) • จ.อุบลราชธานี • ผู้ป่วยรวม 6,910 ราย • อัตราป่วย 347.9 ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 2 ราย ที่ อ.นาจะหลวย • อัตราป่วยตาย 0.03 % ที่มา: Biophics : 27 ตค.57
จำนวนผู้ป่วยมาลาเรีย จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 เปรียบเทียบกับ ปี 2556 และค่า Median 5 ปีย้อนหลัง มีแนวโน้มลดลงในเดือน กค.-ตค57
อัตราป่วยโรคมาลาเรีย จ.อุบลราชธานี ปี 2557 จำแนกรายอำเภอ (วันที่ 1 มค.- 27 ตค.57) อัตราป่วยต่อแสน ปชก.
อำเภอที่อัตราป่วยโรคมาลาเรียสูงสุด8 อันดับแรก จ.อุบลราชธานี ปี 2557
แผนที่อัตราป่วยโรคมาลาเรีย จ.อุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 27 ตค.57
ร้อยละผู้ป่วยโรคมาลาเรีย จำแนกตามกลุ่มอายุจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 ร้อยละ 82 อาชีพหาของป่า (ตัดไม้/หาเห็ด) ร้อยละ
มาตรการป้องกันควบคุมโรคมาตรการป้องกันควบคุมโรค • ปี 2557 มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าป่าเพื่อหาของป่าตัด • ไม้ และเก็บของป่า เห็ดป่า มากกว่าทุกปีที่ผ่านมา • อำเภอชายแดน ควรเร่งประชาสัมพันธ์ ให้สุขศึกษา กลุ่มเสี่ยงที่เข้าป่า และเมื่อมีไข้หรือสงสัย ให้รีบมาตรวจเลือดมาลาเรียทันที • แจกยาทากันยุง มุ้งชุบสารเคมี เปลนอนมีมุ้งครอบ • แก่กลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุม • รพ. ทุกแห่งทบทวนมาตรฐานการรักษามาลาเรียให้เป็นไปตามแนวทางเดียวกัน • สนับสนุนและจัดชื้อเวชภัณฑ์ป้องกันโรคให้เพียงพอ
แผนที่อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ประเทศไทยปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 มค.– 27 ตค.2557 • ประเทศไทย • ผู้ป่วยรวม 29,925 ราย • อัตราป่วย 47.1 ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 27 ราย (0.09%) • จ.อุบลราชธานี • ผู้ป่วยรวม 411ราย • อัตราป่วย 22.8ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 3 ราย (อ.โขงเจียม • 2 ราย และศรีเมืองใหม่ 1 ราย • อัตราป่วยตาย 0.73 % ที่มา: สำนักระบาดวิทยา : 27 ตค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 เปรียบเทียบกับ ปี 2556 และค่าเป้าหมายรายเดือน จำนวนผู้ป่วย (ราย) จำนวนผู้ป่วยไม่เกิน ค่าเป้าหมายรายเดือน
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 จำแนกรายอำเภอ (วันที่ 1 มค.- 27 ตค.57) อัตราป่วยต่อแสน ปชก.
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 27 ตค.57
พื้นที่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จ.อุบลราชธานี ใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา
มาตรการเร่งรัดการควบคุมโรค จากปลัดกระทรวงสาธารณสุข • ใช้มาตรการ 3-3-1 • - รพช. / รพศ. แจ้งผู้ป่วย/สงสัยไข้เลือดออก ให้ • รพ.สต. ทราบ ภายใน 3 ชม. (ไม่เว้นวันหยุดราชการ) • - จนท./อสม. สอบสวนโรคภายใน 3 ชม. • - รพ.สต./ อปท. /อสม./ ชุมชน ร่วมมือกันควบคุมโรคให้แล้วเสร็จภายใน 1 วัน เน้นคุณภาพ HI ,CI = 0
โรคตาแดง Haemorrhagic conjunctivitis
แผนที่อัตราป่วยโรคตาแดง ประเทศไทยปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 มค.– 24 ตค.2557 • ประเทศไทย • ผู้ป่วยรวม 391,236ราย • อัตราป่วย 615.8ต่อแสน ปชก. • ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต • จ.อุบลราชธานี • ผู้ป่วยรวม 23,393 ราย • อัตราป่วย 1,285.3 แสน ปชก. • ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ที่มา: สำนักระบาดวิทยา : 27 ตค.57
จำนวนผู้ป่วยโรค H.conjunctivitis จ.อุบลราชธานี ปี 2557 เปรียบเทียบกับปี 2556 และค่า Median 5 ปีย้อนหลัง มีการระบาดในเดือน มิย - สค.57 และมีแนวโน้มลดลงในเดือน กย– ตค.57
ผู้ป่วยโรค H.conjunctivitis จ.อุบลราชธานี ปี 2557 ผู้ป่วยรวม 22,493 ราย อัตราป่วย 1,285.3 ต่อแสน ปชก.(สูงเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ) เป็นหญิง 13,137 ราย เพศชาย 9,356 ราย อัตราส่วนเพศหญิง : เพศชาย 1.29 : 1 กลุ่มอายุผู้ป่วย (พบกระจายในทุกกลุ่มอายุ) ต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 14.7 % 5-14 ปี ร้อยละ 23.8 % 15-44 ปี ร้อยละ 37.1% 45 ปีขึ้นไปร้อยละ 24.4%
แผนที่อัตราป่วยโรคตาแดง จ.อุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 27 ตค.57
อำเภอที่อัตราป่วยโรคตาแดงสูงสุด5 อันดับแรก จ.อุบลราชธานี ปี 2557
กิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการในพื้นที่เสี่ยงกิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการในพื้นที่เสี่ยง • การคัดแยกผู้ป่วยในห้องเรียนทุกวัน ให้หยุดงานหรือโรงเรียนจนหาย งดการสัมผัสและคลุกคลีผู้ป่วย งดใช้ผ้าเช็ดหน้า และของใช้ร่วมกับผู้ป่วย • การรณรงค์ล้างมือด้วยสบู่ และน้ำสะอาด ในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกแห่ง • การทำความสะอาดห้องเรียน ภาชนะ อุปกรณ์ ด้วยน้ำผสมสบู่หรือผงซักฟอก • รพ.ทุกแห่ง ให้สำรองยาหยอดตาให้เพียงพอ
แผนที่อัตราป่วยโรคมือเท้าปาก ประเทศไทยปี 2557 ระหว่างวันที่ 1 มค.– 27 ตค.2557 • ประเทศไทย • ผู้ป่วยรวม 57,781 ราย • อัตราป่วย 90.9ต่อแสน ปชก. • เสียชีวิต 2 ราย • ผป. เป็นเด็กต่ำกว่า 5 ปี ร้อยละ 95 • จ.อุบลราชธานี • ผู้ป่วยรวม 1,707 ราย • อัตราป่วย 93.9 ต่อแสน ปชก. • ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต ที่มา: สำนักระบาดวิทยา : 27 ตค.57
จำนวนผู้ป่วยโรคมือเท้าปากปี 2557 เปรียบเทียบกับ ปี 2556 และค่า Median 5 ปีย้อนหลัง
แผนที่อัตราป่วยโรคมือเท้าปาก จ.อุบลราชธานี ปี 2557 ที่มา: รง.506: 27 ตค.57
อำเภอที่อัตราป่วยโรคมือเท้าปากสูงสุด5 อันดับแรก จ.อุบลราชธานี ปี 2557
กิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการกิจกรรมที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ • การรณรงค์ล้างมือด้วยน้ำและสบู่ ในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนทุกแห่ง • การคัดแยกผู้ป่วยในห้องเรียนทุกวัน ให้หยุดโรงเรียน และสวมหน้ากากอนามัยเมื่อป่วย • การปิดห้องเรียน ทำความสะอาด หากพบผู้ป่วย • 2 รายขึ้นไปภายใน 7 วัน น้ำยาทำความสะอาดใช้ ที่มีส่วนประกอบของ โซเดียมไฮโปคลอไรด์ คลอรีน เช่น ไฮเตอร์ผสมน้ำ 1 : 10 ส่วน • 4. ทีม SRRT ลงสอบสวนและควบคุมโรคให้เร็ว ภายใน24 ชม.