1 / 79

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้. หน่วยที่ 4 การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น Internet. สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

Download Presentation

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น Internet สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์

  2. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า “ไซเบอร์สเปซ” (Cyber space) คำเต็มของอินเทอร์เน็ตคือ “อินเทอร์เน็ตเวิร์คกิ้ง” (Internet working) ต่อมานิยมเรียกสั้นๆ ว่า อินเทอร์เน็ต หรือ เน็ต • .:ความรู้ทั่วไปและประโยชน์ของการใช้อินเทอร์เน็ต

  3. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail/E-mail) การขอเข้าระบบจากระยะไกล หรือ เทลเน็ต (Telnet) การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol หรือ FTP) การแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) การสืบค้นข้อมูล (Gopher, Archie, World Wide Web) การสื่อสารด้วยข้อความ (Chat, IRC-Internet Relay Chat) การซื้อขายสินค้าและบริการ (Electronic Commerce/ E-Commerce) การให้ความบันเทิง (Entertainment) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต

  4. ไอพี แอดเดรส (IP Address) เป็นหมายเลขที่มีลักษณะเป็นเลขชุดที่ไม่ซ้ำกันและจะมีอยู่เพียงชุดเดียวในโลกเท่านั้น อยู่ในรูปของตัวเลขสี่ชุดใช้สำหรับการอ้างอิงที่อยู่ของอุปกรณ์เครือข่ายและคอมพิวเตอร์ในอินเทอร์เน็ต โดเมนเนม (Domain Name) ออกแบบให้ใช้ชื่อแทนไอพี แอดเดรส เพื่อความสะดวกในการจดจำเช่น www.ssru.ac.th มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:คำศัพท์ที่ควรรู้ก่อนการใช้งานอินเทอร์เน็ต

  5. โดเมนเนม (Domain Name) ประเภทของหน่วยงาน ชื่อโดเมน USA ชื่อโดเมนไทย องค์กรธุรกิจ .com .co.th หน่วยงานราชการ .gov .co.th องค์กรไม่หวังผลกำไร .org .or.th หน่วยงานทหาร .mil .mi.th สถาบันการศึกษา .edu .ac.th องค์กรเครือข่าย .net .net.th องค์กรระหว่างประเทศ .int - บุคคลทั่วไป - .in.th

  6. โฮมเพจ (Home Page)คือคำที่ใช้เรียกหน้าแรกของเว็บไซต์ เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) หรือโฮสต์ (Host) คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องบริการเว็บเพจแก่ผู้ร้องขอ เว็บเพจ (Web Page) เป็นเอกสารที่ใช้นำเสนอข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตเอกสารนี้จะประกอบไปด้วยรูปภาพ ข้อความต่างๆ เว็บไซต์ (Web Site)คือ คำที่ใช้เรียกกลุ่มของเว็บเพจ ดังนั้นภายในเว็บไซต์จะประกอบไปด้วยโฮมเพจ และเว็บเพจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:คำศัพท์ที่ควรรู้ก่อนการใช้งานอินเทอร์เน็ต(ต่อ)

  7. การใช้งานโปรมแกรม Internet Explorer

  8. การเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตนั้น ขึ้นอยู่กับความต้องการในการใช้งานเป็นสำคัญ เช่นใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อค้นหาข้อมูลที่บ้าน ใช้ในเชิงธุรกิจ ใช้เพื่อความบันเทิง หรือใช้ภายในองค์กรขนาดใหญ่ ดังนั้นการเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตจึงมีความแตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านความต้องการ รวมทั้งเงินทุนที่จะใช้ในการติดตั้งระบบด้วย ปัจจุบันการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตที่นิยมใช้มี 6 ลักษณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

  9. การเชื่อมต่อแบบ Dial UP ได้รับความนิยมในยุคแรก ๆ ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บุคคล กับ สายโทรศัพท์บ้านที่เป็นสายตรงต่อเชื่อมเข้ากับโมเด็ม(Modem) ข้อดี ของการเชื่อมต่อแบบ Dial Up คือ อุปกรณ์มีราคาถูก การติดตั้งง่าย การเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ทำได้ง่าย ข้อเสีย คืออัตราการรับส่งข้อมูลค่อนข้างต่ำเพียงไม่เกิน 56 kbit(กิโลบิต) ต่อวินาที มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

  10. การเชื่อมต่อแบบ Dial UP มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

  11. การเชื่อมต่อแบบ ISDN คล้ายกับแบบ Dial Up ต่างกันตรงที่ระบบโทรศัพท์เป็นระบบ ความเร็วสูงที่ใช้เทคโนโลยีระบบดิจิตอล (Digital) และต้องใช้ โมเด็มแบบ ISDN Modem ข้อดี คือไม่มีสัญญาณรบกวน มีความเร็วสูง และยังคงสามารถใช้โทรศัพท์เพื่อพูดคุยไปได้พร้อม ๆ กับการเล่นอินเตอร์เน็ต ข้อเสีย คือมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าระบบ Dial-Up มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

  12. การเชื่อมต่อแบบ ISDN มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

  13. การเชื่อมต่อแบบ DSLเป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตความเร็วสูงโดยใช้สายโทรศัพท์ ธรรมดา ที่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตและพูดผ่าน สายโทรศัพท์ปกติได้ในเวลาเดียวกัน ข้อดี คือมีความเร็วสูงกว่าแบบ Dial-Upและ ISDN ข้อเสีย คือไม่สามารถระบุความเร็วที่แน่นอนได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  14. การเชื่อมต่อแบบ DSL มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  15. การเชื่อมต่อแบบ ADSLคือ เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูง บนเครือข่ายสายทองแดง หรือคู่สายโทรศัพท์ ระดับความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลจะขึ้นอยู่กับ ระยะทาง และคุณภาพของคู่สาย ข้อดี ไม่สะดุดตลอดการใช้งานผู้ใช้จะไม่พบปัญหาสายหลุดบ่อยเหมือน modermปกติ ให้ความเร็วสูงตั้งแต่ 64 Kbps. ถึง 8 Mbps.รองรับ Application ที่ต้องการ Bandwidth สูงโดยเฉพาะเทคโนโลยีด้าน Multimedia ข้อเสีย ถ้าเครื่องสเปกไม่สูงพออาจทำให้การต่อไม่สำเร็จมีราคาสูงกว่าระบบอินเตอร์เน็ตทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  16. การเชื่อมต่อแบบ ADSL มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  17. การเชื่อมต่อแบบ Cable เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยผ่านสายสื่อสารเดียวกับ Cable TV จึง ทำให้เราสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตไปพร้อม ๆ กับการดูทีวีได้ ข้อดี คือถ้ามีสายเคเบิลทีวีอยู่แล้ว สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยเพิ่มอุปกรณ์ Cable Modem ก็สามารถเชื่อมต่อได้ ข้อเสีย คือถ้ามีผู้ใช้เคเบิลในบริเวณใกล้เคียงมาก อาจทำให้การรับส่งข้อมูลช้าลง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  18. การเชื่อมต่อแบบ Cable มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  19. การเชื่อมต่อแบบดาวเทียม (Satellites)มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ระบบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันเรียกว่า Direct Broadcast Satellites หรือ DBS โดยผู้ใช้ต้องจัดหาอุปกรณ์เพิ่มเติม คือ จานดาวเทียมขนาด 18-21 นิ้ว เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวรับสัญญาณจาก ดาวเทียม นิยมเฉพาะในพื้นที่ไม่มีสายสัญญาณ ข้อเสีย ของการเชื่อมต่อแบบดาวเทียม (Satellites) ได้แก่ ต้องส่งผ่านสายโทรศัพท์เหมือนแบบอื่น ๆ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่ำมากเมื่อเทียบกับแบบอื่น ๆ ค่าใช้จ่ายสูง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  20. การเชื่อมต่อแบบดาวเทียม (Satellites) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (ต่อ)

  21. การค้นหาข้อมูลบน Search Engine เราสามารถใช้เครื่องหมายวรรคตอนได้ และในบางครั้งถือเป็นสิ่งจำเป็นในการค้นหาอีกด้วย Search Engine ที่มีชื่อเสียงและมีการเรียกใช้งานบ่อยๆ คือ Google เช่น การค้นหาโปรแกรม ACDSeeสามารถใช้คำระบุไปว่า ACDsee +:*.exe ;.rar;.zipได้ การใช้คำสำคัญและคำเน้นในการค้นหาโดยใช้เครื่องหมายอัญประกาศ (" ") ได้ เช่น "ACDsee v6" +:*.exe ;.rar ;.zip“ ซึ่งจะเป็นการเน้นให้ผลการค้นหาต้องมีคำว่า "ACDsee v6" นั่นเอง ส่วนเครื่องหมายที่มีการระบุไป เช่น ดอกจัน(*) จะเป็นการบ่งบอกถึงส่วนขยายของไฟล์โปรแกรมนั่นเอง เช่น *.exe *.rar *.doc *.zip มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ .:การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

  22. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ .:การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

  23. อีเมล์ (E-mail) หรือ Electronics Mail หรือ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นเครื่องมือสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างกันประเภทหนึ่งคล้ายกับการส่ง จดหมายผ่านทางไปรษณีย์ แต่อีเมล์นี้เป็นบริการที่สามารถทำการส่งข้อความ ไฟล์เอกสารของคอมพิวเตอร์ หรือรูปภาพต่างๆ ไปยังผู้รับปลายทาง แยกออกได้เป็น 2 แบบดังนี้ Web Base Mail ใช้โปรแกรมเบราเซอร์ที่มีอยู่ได้เลย POP Mail ต้องทำการติดตั้งโปรแกรมสำหรับรับ-ส่งอีเมล์ เช่น โปรแกรม Microsoft Outlook มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การใช้งานจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)

  24. 1. เข้าเว็บไซด์ www.hotmail.com จากนั้นคลิกที่ปุ่ม “ลงทะเบียน” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ (Hotmail)

  25. 2. กรอกชื่อบัญชีที่ต้องการ ลงในช่อง Windows Live ID มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  26. 3. จากนั้นคลิกปุ่ม “ตรวจสอบการใช้งาน” เพื่อตรวจสอบดูว่ามีใครใช้ชื่อบัญชีนั้นๆ ไปหรือยัง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  27. 4. ในกรณีที่ ID ที่ระบุมีผู้ใช้อยู่แล้ว จะปรากฏหน้าจอดังภาพด้านล่าง จะต้องทำการระบุ ID ใหม่ โดยขณะที่กรอก ID ทางเว็บไซต์จะแสดง ID ที่ใช้ได้มาให้อัตโนมัติ สามารถเลือกใช้ได้ทันที มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  28. 5. กรอกข้อมูลส่วนที่เหลือให้ครบถ้วน จากนั้นคลิกปุ่ม “ฉันยอมรับ” 6. เมื่อสมัครเสร็จแล้ว ระบบจะเข้าสู่กล่องจดหมาย (Mail) 7. ในส่วน “กล่องขาเข้า (1)” เป็นส่วนที่ระบบจะแจ้งว่าคุณมีข้อความที่ยังไม่ได้เปิดอ่าน 1 ฉบับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  29. 1. เข้าเว็บไซด์ www.hotmail.com จากนั้นคลิกที่ ลงทะเบียน “ลงชื่อเข้าใช้ด้วยบัญชีอื่น” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  30. 2. กรอก ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน ที่สมัครไว้ จากนั้นคลิกปุ่ม “ลงชื่อเข้าใช้” 3. หลังจากนั้นจะสามารถเข้ากล่องจดหมาย (Mail) ได้ทันที มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  31. 1. เมื่อลงชื่อเข้าใช้เพื่อเข้าสู่ระบบแล้ว คลิกที่ “สร้าง” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  32. 2. กรอกรายละเอียดของข้อมูลจดหมาย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้อีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  33. 3. ถ้าต้องการส่งไฟล์ข้อมูลไปกับอีเมล์ คลิก “สิ่งที่แนบมา” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การส่งอีเมล์ของHotmail

  34. เลือกไฟล์ที่ต้องการ จากนั้นคลิกปุ่ม Open จะได้ไฟล์ข้อมูลที่ต้องการส่งไปพร้อมกับจดหมายแสดงให้เห็น 4. เมื่อต้องการส่ง คลิก “ส่ง” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การส่งอีเมล์ของHotmail (ต่อ)

  35. 1. เมื่อลงชื่อเข้าใช้เพื่อเข้าสู่ระบบแล้วคลิกที่ “กล่องขาเข้า” 2. คลิกเลือกจดหมายที่ต้องการอ่านทางด้านขวา 3. จะได้ข้อความจดหมายที่ต้องการอ่าน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การรับและส่งต่ออีเมล์ของ Hotmail

  36. 4. เมื่ออ่านจดหมาย แล้วต้องการตอบกลับไปยังผู้ส่ง ให้คลิก “ตอบกลับ” หรือ “ตอบกลับทั้งหมด” 5. แต่ถ้าต้องการส่งต่อไปให้ผู้รับผู้อื่นให้คลิก “ส่งต่อ” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การรับและส่งต่ออีเมล์ของ Hotmail (ต่อ)

  37. สร้างจดหมายขึ้น กำหนดชื่อผู้ส่งในช่อง “ถึง” 2. พิมพ์ชื่อเรื่องใน “ชื่อเรื่อง” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การแนบไฟล์ไปกับ E-mail

  38. 3. คลิกคำสั่ง “สิ่งที่แนบมา” ที่อยู่ด้านบนจะปรากฏหน้าต่างให้เลือกไฟล์ งานหรือไฟล์รูป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การแนบไฟล์ไปกับ E-mail (ต่อ)

  39. เลือกไฟล์ที่ต้องการ จากนั้นคลิกปุ่ม Open มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การแนบไฟล์ไปกับ E-mail (ต่อ)

  40. 4. เลือกที่เก็บของไฟล์ที่จะส่ง รอสักครู่จะทำการประมวลไฟล์แนบจัดเก็บ ไว้ในส่วนของอีเมล์ ดังรูป 5. คลิกปุ่ม Send เพื่อส่งอีเมล์ฉบับนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การแนบไฟล์ไปกับ E-mail (ต่อ)

  41. วิธีการสมัครใช้งาน Facebook 1.เข้าไปที่ http://www.facebook.com ในหน้าแรกจะมีช่องให้ “ลงทะเบียน” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การใช้งาน Social network (Facebook)

  42. 2. หลังจากนั้นกรอกข้อมูล ได้แก่ ชื่อ (แนะนำให้ใช้ชื่อ-นามสกุลจริง เพราะ จะมีผลในการค้นหาของเพื่อน) อีเมล์ที่ติดต่อได้ และตั้งพาสเวิร์ดที่จะใช้ สำหรับเข้าใช้งาน ระบุวันเดือนปีเกิด 3. จากนั้นคลิกปุ่ม “ลงทะเบียน” จะมีช่องให้พิมพ์คำตามรูปภาพ เป็นคำ ภาษาอังกฤษสองคำคั่นกลางด้วยเว้นวรรค (space bar) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้งาน Facebook

  43. 4. จากนั้นคลิกปุ่ม “ลงทะเบียน” 5. หลังจากนั้นจะเป็นการเริ่มใช้งานโดยมีสามขั้นตอนคือ - ขั้นที่ 1 คุณสามารถค้นเพื่อหาผ่านทางอีเมล์ของคุณดังรูป (คุณสามารถ ข้ามขั้นตอนนี้ได้) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้งาน Facebook(ต่อ)

  44. - ขั้นที่ 2 กรอกข้อมูลส่วนตัวของคุณ ข้อมูลนี้จะช่วยคุณหาเพื่อนของคุณใน Facebook มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้งาน Facebook(ต่อ)

  45. - ขั้นที่ 3 ตั้งค่ารูปประจำตัวของคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้งาน Facebook(ต่อ)

  46. 6. หลังจากนั้น ระบบจะส่งอีเมล์ยืนยันไปที่อีเมล์ที่ให้ไว้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:วิธีการสมัครใช้งาน Facebook(ต่อ)

  47. การกำหนดรูปภาพ เมื่อ Login เข้าสู่ Facebookแล้ว คลิกที่ “ข้อมูลส่วนตัว” จะเห็นส่วนต่างๆ ที่เป็นข้อมูลส่วนตัว ซึ่งจะยังไม่มีรูปภาพปรากฏอยู่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การจัดการProfileบน Facebook

  48. 2. เราสามารถนำรูปที่ต้องการใส่เข้าไปได้โดยคลิกที่ “อัพโหลดรูปถ่าย” 3. คลิกปุ่ม “Browse” เพื่อเลือกภาพที่ต้องการ แต่ต้องมีขนาดใหญ่ไม่เกิน 4 MB 4. เมื่อเลือกรูปภาพแล้วจะสามารถเห็นรูปที่เลือกได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การกำหนดรูปภาพบน Facebook

  49. 5. ถ้าต้องการเปลี่ยนรูป ให้คลิกที่ “เปลี่ยนรูปถ่าย” แล้วทำการเลือกรูปภาพ ใหม่ที่ต้องการอีกครั้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การกำหนดรูปภาพบน Facebook(ต่อ)

  50. คลิกที่แท็บ “ข้อมูลส่วนตัว” เพื่อเปลี่ยนแปลงข้อมูลในส่วนต่างๆ 2. ข้อมูล “การศึกษาและการทำงาน” เป็นข้อมูลที่เกี่ยวกับศึกษาและการ ทำงาน สามารถแก้ไขได้โดยคลิกที่ “แก้ไข” ในแถบการศึกษาและการทำงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ • .:การกำหนดรูปของ Info บน Facebook

More Related