170 likes | 416 Views
การตรวจสอบ แบบไตรภาคี. แบบไตรภาคี. กรมบัญชีกลาง. กรมสอบสวนคดีพิเศษ. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป. ป. ท). กระทรวงการคลัง. กระทรวงยุติธรรม. กรมบัญชีกลาง (สำนักพัฒนาระบบตรวจสอบการรักษาพยาบาล). กรมสอบสวนคดีพิเศษ + สำนักงาน ป.ป.ท.
E N D
แบบไตรภาคี กรมบัญชีกลาง กรมสอบสวนคดีพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สำนักงาน ป. ป. ท)
กระทรวงการคลัง กระทรวงยุติธรรม กรมบัญชีกลาง (สำนักพัฒนาระบบตรวจสอบการรักษาพยาบาล) กรมสอบสวนคดีพิเศษ + สำนักงาน ป.ป.ท ตรวจสอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ที่ส่อว่าอาจมีการทุจริต ตรวจสอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย เรียกเงินคืน ส่ง ป.ป.ท ตรวจสอบข้อเท็จจริง ดำเนินคดีทางแพ่ง/อาญา
กรมบัญชีกลาง(สำนักพัฒนาระบบตรวจสอบการรักษาพยาบาล)กรมบัญชีกลาง(สำนักพัฒนาระบบตรวจสอบการรักษาพยาบาล) หลักฐานที่ตรวจ :- ข้อมูลการจ่ายยา,รหัสโรคจากคอมฯ + เวชระเบียนผู้ป่วย + ใบสั่งยา การเบิกจ่าย ค่ารักษาพยาบาล เวชระเบียนผู้ป่วย คุณภาพการรักษา บันทึกการรักษา การวินิจฉัยโรค การสรุปรหัสโรค หมวดหมู่ที่เบิก เบิกผิดระเบียบ เบิกซ้ำซ้อน เบิกเกินจริง ความสมเหตุสมผล ตรงมาตรฐาน/ข้อบ่งชี้ สั่งยาซ้ำซ้อน
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยใน • 1.คุณภาพเวชระเบียน • ไม่บันทึกประวัติการรักษาและผลการตรวจร่างกาย • นักศึกษาแพทย์บันทึกการรักษาและตรวจรักษาโดยไม่มีแพทย์ • staff ลงนามรับรอง • ไม่บันทึกProgress note • ไม่บันทึกรายละเอียดการการผ่าตัดที่สำคัญ • สรุปโรคมีทั้งไม่ครบถ้วน, สรุปเกินจริง และสรุปผิดประเภท • - Septicemia ไม่ระบุเชื้อ • - Hypomagnesia แต่ไม่มีผลเลือด ส่งแก้ไขใหม่
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยใน • 2. คุณภาพการเบิกจ่าย • รับ Admit โดยไม่มีเหตุผลเพียงพอ เช่น • - admit เพื่อรอตรวจ MRI • - admit รักษาการแพทย์ทางเลือกโดยไม่มีข้อบ่งชี้ • ที่ชัดเจน • เบิกซ้ำซ้อน เช่น • -เบิก OPD case ในวันที่ admit เข้านอน รพ. ด้วย • โรคเดียวกัน เรียกเงินคืน
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยนอก • เวชระเบียน • ไม่บันทึกการรักษา มีแต่สั่ง RM • ไม่บันทึกกิจกรรมที่ให้การรักษา, การประเมินและวาง • เป้าหมายหลังการรักษา เช่น การฝังเข็ม, นวดแผนไทย • ส่งเบิกค่ารักษา โดยไม่พบหลักฐานการวินิจฉัยโรค เช่น • - เบิกน้ำยาล้างไตแต่ไม่วินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง • - เบิกยาลดไขมันแต่ไม่มีการวินิจฉัยโรคหรือผลการตรวจ • ทางห้องปฏิบัติการ เรียกเงินคืน
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยนอก • การเบิกจ่าย • เบิกก่อนเกิดธุรกรรมจริง เช่น เบิกค่าตรวจทางห้องปฏิบัติ • การ แต่วันที่ตรวจหลังจากวันที่ขอเบิก • ไม่สอดคล้องกับโรค หรือยาเดิมของผู้ป่วย • เบิกผิดระเบียบกรมบัญชีกลาง • - ไม่ตรงข้อบ่งชี้ที่ขึ้นทะเบียนไว้ เช่น • :- ยา EPO high dose ขึ้นทะเบียนใช้ใน Chemotherapy • induced anemia แต่ใช้ในผู้ป่วย Anemia ที่เกิด • Hemolysis จากยา Ribavirin • - ยา Viagra ใช้ในผู้ป่วย Secondary Pulmonary hypertension เรียกเงินคืน
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยนอก • การเบิกจ่าย • เบิกยา NED เป็นขนานแรก โดยไม่ผ่านการใช้ยา ED มาก่อน • - สั่งยา Rosuvastatin โดยไม่เคยใช้ยา Simvastatin มาก่อน • และไม่ระบุเหตุผลการใช้ยา NED • -สั่งยา Celebrex ต่อเนื่องเป็นเวลานาน โดยไม่มีเหตุผล • และไม่ระบุเหตุผลการใช้ยา NED • - เบิกยา Plavix โดยไม่บันทึกเหตุผลไม่สามารถใช้ยา ASA เรียกเงินคืน
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยนอก • การเบิกจ่าย • เบิกยาเกินจำนวนวันนัด เช่น สั่งยา Baraclude เกินวันนัดไป 122 เม็ด • เบิกยามากผิดปกติก่อนหมดสิทธิประโยชน์ เช่น เบิกยา Cal-D-vita • ก่อนประกาศห้ามเบิก, ยา Enbrel ก่อนประกาศควบคุมการเบิก • สั่งจ่ายยาซ้ำซ้อน เช่น สั่งยาแก้ซึมเศร้า ซ้ำซ้อน Prozac + Seroquel • เบิกค่ายาที่ได้รับบริจาค เช่น ยา Ribavirin ที่ได้รับมาพร้อมกับการสั่ง Peginterferon เรียกเงินคืน
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยนอก • การรักษา • เบิกไม่ตรงมาตรฐานการรักษา หรือเงื่อนไขที่กำหนดใน EDเช่น • -ยา Glivec เบิกใน Adjuvant setting • - สั่งยา Casodex เป็นขนานแรก ไม่ตรงมาตรฐานการรักษา • โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก และไม่ประเมินระยะของโรคเพื่อวาง • แนวทางการ รักษา • - สั่งใช้ยา Infiximab และ Enbrel ในผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน โดย • ไม่พบ การรักษาด้วยยามาตรฐาน เช่น Methotrexate หรือ ใช้ • UV ไม่ได้ผล เรียกเงินคืน
ประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลางประเด็นปัญหาที่พบจากการตรวจสอบของกรมบัญชีกลาง ผู้ป่วยนอก • เบิกยาโดยไม่มีหลักฐานการวินิจฉัยโรค หรือ ไม่มีบ่งขี้ทาง การแพทย์ • -เบิกยาบรรเทาภาวะสมองเสื่อม Exelon patch ในผู้ป่วยที่มีผล • การตรวจ TMSE score ปกติ • - เบิกยา PPI ต่อเนื่องยาวตลอดปี โดยไม่พบหลักฐานการวินิจฉัย • โรค หรือระบุเหตุที่ใช้ยา ED ไม่ได้ • - เบิกยา Enoxaparin ในขณะฟอกเลือด โดยไม่พบเงื่อนไขทาง • การแพทย์ • - เบิกยา Symbicort, Seretide โดยไม่มีการวินิจฉัยโรค เรียกเงินคืน
การเบิกค่ารักษาที่ส่อว่าอาจมีการทุจริตการเบิกค่ารักษาที่ส่อว่าอาจมีการทุจริต • เบิกแต่ยาราคาแพง และไม่สอดคล้องกับโรคที่เป็น • มูลค่าการเบิกต่อครั้งสูง(2-3 หมื่นบาทต่อ visit) • จำนวน visit เกิน 4 ครั้งต่อเดือน
ประเด็นที่ DSI กล่าวถึง • การสวมสิทธิผู้ป่วย • - แอบใช้ HN ผู้ป่วย • รายอื่น • - เติมรายการยาเข้าไป • ในใบสั่งยา • - ใช้ HN ของญาติมา • ขอใช้บริการ • แนวทางดำเนินการ • - ตรวจบัตรประชาชน • - รูปถ่ายผู้รับบริการ • - เซ็นต์ชื่อรับยา • - สั่งยา online โดย • แพทย์
ประเด็นที่ DSI กล่าวถึง • ผู้ป่วย Shopping • ผู้ป่วยมาตรวจที่ รพท. แล้วเวียนไปที่ CMU • ผู้ป่วยเวียนตรวจระหว่างคลินิก • ผู้ป่วยขอรับยาเดิมก่อนเวลานัด แนวทางดำเนินการ - พัฒนาโปรแกรม ช่วยตรวจเช็ค - ห้ามสั่งยาข้าม แผนก
ประเด็นที่ DSI กล่าวถึง • การยิงยา • สั่งซื้อยาหนึ่งมากผิดปกติ • สั่งยาหนึ่งมีความถี่ผิดปกติ • สั่งโดยแพทย์นั้นมากผิดปกติ • สั่งยาไม่สมเหตุผล • แนวทางดำเนินการ • รายงานผู้บริหารทราบ
ผลลัพธ์ที่เกิด + - • ผู้บริหารตื่นตัว สนใจมากขึ้น • การใช้ยาสมเหตุผลมากขึ้น • คุณภาพการรักษาดีขึ้น • สูญเสียงบประมาณลดลง • เบี่ยงประเด็น • ชื่อเสียง • สตง. เข้าตรวจ