1 / 68

นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ

นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ. เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (เลขาธิการ กปร.). สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.). “โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ”. บรรยายโดย. นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ.

vina
Download Presentation

นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (เลขาธิการ กปร.) สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)

  2. “โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ”“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” บรรยายโดย นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

  3. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) เป็นส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง มีฐานะเป็นกรม อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีเลขาธิการ กปร. เป็นหัวหน้าสำนักงาน

  4. บทบาทและหน้าที่ สำนักงาน กปร. ตามเสด็จฯ และรับสนองพระราชดำริ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จัดให้มีการศึกษา สรุปรวบรวมและถ่ายทอดประสบการณ์ และองค์ความรู้ตามแนวพระราชดำริ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

  5. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ พระราชทานพระราชดำริโดยตรง 2. ฎีกาของราษฎร 3. หน่วยราชการทำรายงานทูลเกล้าฯ

  6. ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริขั้นตอนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2.รวบรวมพระราชดำริให้ครบถ้วน 3. หน่วยงาน (กรม)จัดทำโครงการฯ 4. เสนอกระทรวงพิจารณากลั่นกรอง 1. พระราชดำริ 5. เสนอ สำนักงาน กปร.พิจารณา/วิเคราะห์โครงการ 6. เสนอ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีประธาน กปร. พิจารณาอนุมัติ 7. สำนักงาน กปร. แจ้งสำนักงบประมาณ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 8. หน่วยงานปฏิบัติเบิกจ่ายงบประมาณ และปฏิบัติตามแผนงาน 9.สำนักงาน กปร.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 10. จัดทำรายงานทูลเกล้าฯ ถวาย

  7. ครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ การพัฒนา การเกษตร การพัฒนา แหล่งน้ำ การสื่อสาร โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เทคโนโลยี สารสนเทศ การแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อม การสาธารณสุข การศึกษา การโยธา ด้านคมนาคม การพัฒนา พลังงาน

  8. ปัญหาเกี่ยวกับน้ำที่สำคัญ 3 ประการ ได้แก่ 2.1 น้ำขาด ในด้านต่างๆ ได้แก่ - น้ำอุปโภคบริโภค - น้ำเพื่อการเกษตร - น้ำเพื่อการอุตสาหกรรม และกิจกรรมอื่นๆ

  9. สภาพปัญหาการขาดแคลนน้ำสภาพปัญหาการขาดแคลนน้ำ ของประเทศในปัจจุบัน 1) ขีดความสามารถในการเก็บกักน้ำ 2) ปริมาณน้ำไม่เพียงพอ 3) การขาดจิตสำนึก ขาดวินัย

  10. ประเทศ %ประชากร %ก๊าซเรือนกระจก พัฒนาแล้ว 20 % 52 % กำลังพัฒนา 80 % 48 %

  11. การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ภาค ปริมาณการปล่อย % ก๊าซเรือนกระจก (ล้านตัน) คาร์บอนไดออกไซด์ ภาคพลังงาน 193.2 56.1 ภาคการเกษตร 82.8 24.0 ภาคอุตสาหกรรม 18.7 5.4 ภาคของเสีย 26.9 7.8 ภาคการเปลี่ยนแปลง 22.6 6.6 การใช้ที่ดิน และป่าไม้

  12. ปัญหาของชาติ (1) ปัจจัยภายนอก : - โลกาภิวัตน์ (ความไร้พรมแดน) * การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก * การแข่งขันบนเวทีโลก ความขัดแย้ง : - สิ่งแวดล้อม * ปรากฎการณ์เรือนกระจก, เอลนินโญ * โรคภัยไข้เจ็บ คุณภาพชีวิต : - ความรู้ และ เทคโนโลยี * สังคมเศรษฐกิจ ฐานความรู้ (Knowledge Based Society)

  13. ปัญหาของชาติ (2) ปัจจัยภายใน: - เศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิต - ความยากจน - การศึกษา ความรู้ - ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

  14. เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ” พระปฐมบรมราชโองการ ในพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ วันที่ 5 พฤษภาคม 2493

  15. แก้ปัญหาโดยเริ่มที่จุดเล็กแก้ปัญหาโดยเริ่มที่จุดเล็ก คือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมักจะมองข้าม ดังพระราชดำรัสที่ว่า “...ถ้าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออก...เป็นอย่างนั้นต้องแก้ไขการปวดหัวนี้ก่อน...มันไม่ได้เป็นการแก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้ อยู่ในสภาพที่คิดได้...แบบ Macro นี้ เขาจะทำแบบรื้อทั้งหมด ฉันก็ไม่เห็นด้วย...อย่างบ้านคนอยู่ เราบอกบ้านนี้มันผุตรงนั้น ผุตรงนี้ ไม่คุ้มที่จะไปซ่อม...เอาตกลงรื้อบ้านนี้ระเบิดเลย เราจะไปอยู่ที่ไหน ไม่มีที่อยู่...วิธีทำต้องค่อยๆ ทำ จะไประเบิดหมดไม่ได้...” 17 มีนาคม 2529

  16. 2. ระเบิดจากข้างใน คือ ทำให้ชุมชนหมู่บ้านมีความเข้มแข็งก่อน แล้วจึงค่อยออกสู่สังคมภายนอก มิใช่การเอาความเจริญหรือบุคคลภายนอกเข้าไปหาชุมชนหมู่บ้านที่ยังไม่ทันมีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว ทรงใช้คำว่า“ระเบิดจากข้างใน”

  17. 3. ทำตามลำดับขั้น ค่อยเป็นค่อยไป “... การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป ...”

  18. 4. พออยู่พอกิน พึ่งตนเองได้ “... การช่วยเหลือให้เขาได้รับสิ่งที่เขาควรจะได้รับตามความจำเป็นอย่างเหมาะสม จะเป็นการช่วยเหลือที่ได้ผลดีที่สุด ...”

  19. 5. เน้นการมีส่วนร่วม “... สำคัญที่สุดจะต้องหัดทำใจให้กว้างขวางหนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาด เพราะการรู้จักรับฟังอย่างฉลาดนั้นแท้จริง คือ การระดมสติปัญญาและประสบการณ์ อันหลากหลาย มาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบความสำเร็จ ที่สมบูรณ์นั่นเอง ...”

  20. คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม “... ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจรำคาญด้วยซ้ำว่า ใครต่อใครก็มาบอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ๆ อยู่เรื่อย แล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้ ...”

  21. 6. คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน ขาดทุนเป็นกำไร“...พูดภาษาอังกฤษมันสั้นกว่า ฉะนั้นก็ต้องเผยว่าภาษาอังกฤษ เป็นอย่างไร ภาษาอังกฤษ “Our” หมายความว่า “ของเรา” “Our loss…” “loss” ก็การเสียหาย การขาดทุน “Our loss is…” “is” ก็ “เป็น” “Our loss is our…” “Our” นี่ก็คือ “ของเรา” “Our loss is our gain…” “gain” ก็คือ “กำไร” หรือ “ที่ได้” “ส่วนที่เป็นรายรับ” “Our loss is our gain” “ขาดทุนเป็นกำไรของเรา” หรือ “เราขาดทุนเราก็ได้กำไร”

  22. คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน ขาดทุนเป็นกำไร

  23. แนวคิดการพัฒนา โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

  24. รางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์นี้ ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายมีปณิธานที่จะส่งเสริมประสบการณ์และนำแนวทางการปฏิบัติในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันทรงคุณค่าอย่างหาที่สุดมิได้ของพระองค์ท่าน มาช่วยจุดประกายแนวความคิดในปรัชญาดังกล่าวสู่นานาประเทศต่อไปในโอกาสนี้ข้าพระพุทธเจ้ามีความปลื้มปีติและภาคภูมิใจทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุด ด้านการพัฒนามนุษย์ แด่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท” องค์การสหประชาชาติทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล พร้อมทั้งประกาศราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ 28 พฤษภาคม 2549

  25. 1. ภูมิสังคม การพัฒนาจะต้องคำนึงถึงความสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ ภูมิประเทศ และสภาพทางสังคมวิทยาของชุมชนนั้นๆ

  26. 2. ทำงานแบบบูรณาการ ทรงเน้นการสร้างความรู้ รัก สามัคคีและการร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจกัน ด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มักจะต่างคนต่างทำและยึดติดกับการเป็นเจ้าของเป็นสำคัญ

  27. 2. ทำงานแบบบูรณาการ พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2550 สรุปความตอนหนึ่งว่า “...อันตรายอีกอย่างที่เห็นว่าเกิดทางภาคอีสานหรือที่อื่น เวลาฝนตกลงมาแล้วไปเซาะทำลายดินถึงข้างล่าง เกิดดินเค็มก็ไปทำลายนา เราไม่ได้ไปดูก็รู้ว่ามีปัญหาแบบนี้ กรมพัฒนาที่ดิน หรือหลายกรมไม่ได้ทำ ก็ต้องไปดู เชื่อว่าต้องไปดู เพราะมีปัญหาเกิดขึ้นต้องพูดว่าให้ บูรณาการ พื้นที่ดินเค็มพืชก็ทนไม่ไหว เราก็บอกให้ใช้วิธี "แกล้งดิน" บางคนก็ไม่เข้าใจทำไมต้องไปแกล้งดิน กรมพัฒนาที่ดินตอนนั้นห่วงว่าจะยิ่งทำให้ดินเปรี้ยว เราก็ให้ดูตัวอย่างที่ศูนย์ทางภาคใต้ เคยทำนาได้ข้าว 2 ถัง ก็ได้มากถึง 50 ถัง เขาไม่เชื่อแต่เราก็ต้องทำ และก็ได้ผลอย่างที่เห็นถือว่าดีมาก...”

  28. พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2549 ณ วังไกลกังวล ความตอนหนึ่งว่า “...การดำเนินงานโครงการพระราชดำริให้ไปดูสถานที่จริงงานจริงที่พื้นที่จริงจะทำให้ได้ข้อมูลจริงและหากไม่เข้าใจให้กลับไปดูได้ที่ศูนย์ศึกษาต่างๆเช่นศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนเป็นต้น...”

  29. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ

  30. ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จสำหรับเกษตรกรศูนย์บริการเบ็ดเสร็จสำหรับเกษตรกร (One Stop Service for Farmers) ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า “...เป็นการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จหมายถึงว่าทุกสิ่งทุกอย่างทุกด้านของชีวิตประชาชนที่จะหาเลี้ยงชีพในท้องที่จะทำอย่างไรและได้เห็นวิทยาการแผนใหม่จะสามารถที่จะหาดูวิธีการจะทำมาหากินให้มีประสิทธิภาพ...”

  31. พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า “ ...ศูนย์ศึกษานี้เป็นคล้าย ๆ พิพิธภัณฑ์ใหญ่ ที่มีชีวิต ที่ใคร ๆ จะมาดูว่าทำอะไรกัน... ”

  32. การบริหารงานอย่างมีเอกภาพการบริหารงานอย่างมีเอกภาพ (Single Management) เจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ไม่มีการแบ่งแยก หน่วยงาน เปรียบเสมือนสวมหมวกใบเดียวกันแต่มีการแบ่งหน้าที่การดำเนินงานกันอย่างชัดเจน

  33. การพัฒนาแบบผสมผสาน - กรมชลประทาน แหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก - กรมป่าไม้ ฟื้นฟูดูแลป่า - ฯลฯ

  34. ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาที่ดินตัวชี้วัดด้านการพัฒนาที่ดิน ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาการเกษตร ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาป่าไม้ ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ ตัวชี้วัดด้านการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ตัวชี้วัดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

  35. การเปลี่ยนแปลงด้านกายภายการเปลี่ยนแปลงด้านกายภาย และระบบนิเวศน์วิทยาภายในศูนย์ 1. ชนิดของป่าเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น • สภาพป่าเต็งรัง จากเดิมอยู่ที่ระดับ 51% ปัจจุบันเหลือ 22.12% • สภาพป่าเบญจพรรณ จากเดิมอยู่ที่ระดับ 16.55% ปัจจุบันเป็น 45.45%

  36. 2. ความหนาแน่นของต้นไม้ • เพิ่มจาก 100 ต้น / ไร่ เป็น 200 – 240 ต้น / ไร่

  37. 3. พบสัตว์ป่าคืนถิ่น นก จำนวน 122 ชนิด • นกประจำถิ่น จำนวน 94 ชนิด • นกอพยพ จำนวน 28 ชนิด สัตว์ป่าชนิดอื่น • ไก่ป่า กระต่ายป่า เก้ง แลน • กระรอก งู หมาป่า

  38. 4. ความชุ่มชื้นในป่าเพิ่มขึ้น • อุณหภูมิเฉลี่ยลดจากเดิม 26.7 องศาเซลเซียส • เหลือ 25 องศาเซลเซียส อัตราการระเหยเฉลี่ยลดลงจาก 1,365.6 มิลลิเมตร เหลือ 880 มิลลิเมตร

  39. 5. ปริมาณน้ำฝนเพิ่มขึ้น • ปี 2528 - 2548 1,142.2 มิลลิเมตรต่อปี • ปัจจุบันเฉลี่ย 1,314.7 มิลิเมตรต่อปี • จำนวนฝนตกเฉลี่ยจากเดิม 80 - 90 วันต่อปี • ปัจจุบัน 100 - 110 วันต่อปี

  40. เศรษฐกิจพอเพียง : ทรงเตือนภัยล่วงหน้า “...การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ที่อารยประเทศหลายประเทศกำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงอยู่ในเวลานี้...” 18 กรกฎาคม 2517

  41. แนวคิดของระบบเศรษฐกิจแบบพออยู่พอกินกับการแก้ไขวิกฤติทางเศรษฐกิจและปัญหาทางสังคมของไทยแนวคิดของระบบเศรษฐกิจแบบพออยู่พอกินกับการแก้ไขวิกฤติทางเศรษฐกิจและปัญหาทางสังคมของไทย ประการแรก ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ประการที่สอง ให้ความสำคัญกับการรวมกลุ่ม ประการที่สาม ความเมตตา ความเอื้ออาทร และความสามัคคี ของสมาชิกในชุมชน

  42. เศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ อย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึก ในดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ รอบคอบ และความระมัดระวัง คุณธรรมความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่ เหมาะสม เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี “เศรษฐกิจพอเพียง”เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า๒๕ปีตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจและเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ กรอบแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ คำนิยาม ประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผล กระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน เงื่อนไข แนวปฏิบัติและผลที่คาดหมาย

  43. เศรษฐกิจพอเพียง : ปรัชญาในการดำรงชีวิตของประชาชน เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง 1. ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลก ยุคโลกาภิวัตน์ 2. ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล 3. มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร 4. อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ วิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน 5. เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม 6. ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ

  44. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน มีคำหลัก ( Key Word ) อยู่ 3 คำ คือ “ ทำอะไร ให้ พอประมาณ ทำอะไร ด้วย เหตุผล ทำอะไร ให้มีภูมิคุ้มกันตลอดเวลา และการกระทำทุกอย่างต้องตั้งอยู่บนฐานของความรู้ จริยธรรม และคุณธรรม ”

  45. คุณลักษณะของ คน/กิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุมีผล • มีภูมิคุ้มกันที่ดี • สุขภาพดี • พร้อมรับความเสี่ยงต่างๆ • (วางแผน/เงินออม/ประกัน) • ทำประโยชน์ให้กับผู้อื่น/สังคม • เรียนรู้ / พัฒนาตน อย่างต่อเนื่อง • พอเหมาะกับสภาพของตน • พอควรกับสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ / สังคม • (ไม่โลภจนเบียดเบียนตัวเอง/ ผู้อื่น / ทำลายสิ่งแวดล้อม) • ไม่ประมาท (รอบรู้/มีสติ) • รู้สาเหตุ – ทำไม • รู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง • รู้ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในด้านต่างๆ สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้ ในที่สุด

  46. แนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียงแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง สัปปุริสธรรม 7 1. รู้เหตุ 2. รู้ผล ความมีเหตุมีผล 3. รู้ตน 4. รู้ประมาณ ความพอประมาณ 5. รู้กาล 6. รู้บุคคล 7. รู้ชุมชน ภูมิคุ้มกัน

More Related