1 / 44

การ บริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ใน สำนักงานประกันสังคม

การ บริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ใน สำนักงานประกันสังคม. นางเมธินี จิตติชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมประสิทธิภาพ สำนักงานประกันสังคม. หัวข้อการบรรยาย. ความเป็นมา การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ในสำนักงานประกันสังคม บทเรียนจากประสบการณ์. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์. โลกาภิวัตน์.

vienna
Download Presentation

การ บริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ใน สำนักงานประกันสังคม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ในสำนักงานประกันสังคม การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ในสำนักงานประกันสังคม นางเมธินี จิตติชานนท์ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมประสิทธิภาพสำนักงานประกันสังคม

  2. หัวข้อการบรรยาย ความเป็นมา การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ในสำนักงานประกันสังคม บทเรียนจากประสบการณ์

  3. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ โลกาภิวัตน์ วิกฤติเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี แรงผลักดันการ ปฏิรูประบบราชการ การเข้าสู่สังคม เรียนรู้ ความต้องการมีส่วน ร่วมของประชาขน ความเข้มแข็งของ ภาคเอกชน รัฐธรรมนูญใหม่

  4. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ความเป็นมาของ โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพในส่วนราชการ • มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 16 พฤษภาคม 2538 กำหนดให้มีโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพในส่วนราชการ

  5. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. การปรับปรุงประสิทธิภาพ 5 เรื่อง • การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร (Agencies) • การปรับเปลี่ยนกระบวนงานเงินสมทบ (Contribution Opportunity) • การปรับเปลี่ยนกระบวนงานจ่ายประโยชน์ ทดแทน (Benefit Opportunity) • การปรับเปลี่ยนการส่งรายชื่อผู้ประกันตนให้ สถานพยาบาล (Hospital List Opportunity) • การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management)

  6. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สำนักงานประกันสังคม

  7. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ในสำนักงานประกันสังคมมี 2 ระดับ • ระดับปฏิบัติการ • ระดับองค์กร

  8. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. การพัฒนาระบบ RBM ระดับปฏิบัติการ

  9. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. RBM ระดับปฏิบัติการ (Operational Level - Local Office) • ===> เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติงานของแต่ละสำนักงานประกันสังคมเขตพื้นที่และจังหวัด ... สำหรับหัวหน้าหน่วยงานใช้ใน • การบริหารงานในแต่ละจังหวัด • ===> ผลการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงาน จะประมวลผลเป็นภาพรวมของทั้งสำนักงานประกันสังคม ...สำหรับผู้บริหารระดับสูงใช้ในการบริหารงาน

  10. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. งานประกันสังคม บริหารโดยระบบไตรภาคี การเก็บเงินสมทบ การจ่ายประโยชน์ทดแทน - เจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย เนื่องจากการทำงาน - เจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย ไม่เนื่องจากการทำงาน - คลอดบุตร - สงเคราะห์บุตร - ชราภาพ

  11. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. กองทุนเงินทดแทน กองทุนประกันสังคม กระบวนงานหลักของสำนักงานประกันสังคม • งานเงินสมทบ • งานจ่ายประโยชน์ทดแทน • งานทะเบียน

  12. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. วิธีการและขั้นตอนการพัฒนาระบบ RBM ของสปส. ระดับปฏิบัติการ 1. กำหนดพันธกิจ (Mission)ของ สปส. 2. กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) 3. กำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จขององค์กร

  13. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. วิธีการและขั้นตอนการพัฒนาระบบ RBM ของสปส. ระดับปฏิบัติการ (ต่อ) 4. กำหนดประเภทงานที่จะทำการวัดผลพิจารณาจากกระบวนงานหลักของ สปส. งานขึ้นทะเบียน งานรับเงินสมทบ งานจ่ายประโยชน์ทดแทน (กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก) (Key Performance Indicators)

  14. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. วิธีการและขั้นตอนการพัฒนาระบบ RBM ของสปส. ระดับปฏิบัติการ (ต่อ) 5. กำหนดวิธีการคำนวณหาค่า KPI แหล่งที่มาของข้อมูล 6. กำหนดเป้าหมายสำหรับแต่ละ KPI เทียบผล การปฏิบัติงาน แสดงว่า บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ 7. ออกแบบฟอร์มที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อคำนวณตาม KPI รวมทั้งแบบสอบถาม

  15. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. วิธีการและขั้นตอนการพัฒนาระบบ RBM ของสปส. ระดับปฏิบัติการ (ต่อ) 8. ออกแบบโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการประมวลผล 9. กำหนดรูปแบบรายงาน การวิเคราะห์ผล และวิธีส่งข้อมูลเข้าส่วนกลาง 10. ทดลองการดำเนินการตามที่ออกแบบไว้ 11. จัดทำเอกสารคู่มือต่าง ๆ สำหรับเจ้าหน้าที่

  16. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. พันธกิจ (Mission) ของ สปส. “ ให้บริการทางด้านประกันสังคมที่มีคุณภาพสูงแก่สมาชิกและครอบครัว ซึ่งจะก่อประโยชน์ต่อประเทศและสังคมโดยรวม” วิสัยทัศน์ (VISION) 2005 • “เป็นองค์กรชั้นนำในการบริการทางด้านประกันสังคมอันเป็นที่ต้องการของสังคม ซึ่งจะบรรลุได้โดย • มีการบริหารองค์กรที่ดี • มีระบบสารสนเทศที่ครอบคลุมทั่วประเทศ • มีบุคลากรที่มีทักษะสูง • มีการบริหารกองทุนที่มีประสิทธิภาพ”

  17. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จระดับองค์กร ของ สปส. Critical Success Factors - CSFs • ความสามารถในการบริหารและจัดการเกี่ยวกับข้อมูลปริมาณมาก • ความสามารถในการให้บริการ และจ่ายประโยชน์ทดแทนที่มีคุณภาพ • ความสามารถในการจูงใจให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย • ความมั่นคงและปลอดภัยของกองทุน

  18. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวชี้วัด (KPIs) ของสำนักงานประกันสังคม แบ่งเป็น 4 ด้าน วัดผลการทำงานว่า บรรลุวัตถุประสงค์ และรวดเร็ว ถูกต้องหรือไม่ ความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร เทียบกับผลผลิต ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิภาพ (Efficiency) การปฏิบัติตามกฏหมาย ของนายจ้าง (Compliance) คุณภาพการให้บริการ (Quality Services) ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจ ทำให้ทราบถึงการให้ความคุ้มครองนายจ้าง รวมถึงการปฏิบัติงานที่ ถูกต้องของนายจ้าง

  19. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPIs) ของสปส. ระดับปฏิบัติการ ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ ตัวชี้วัด ด้าน (กลุ่ม) ปริมาณงาน / ต้นทุน ปริมาณงาน / ผู้ประกันตน ผู้ประกันตน / เจ้าหน้าที่ ปริมาณงาน / เจ้าหน้าที่ ต้นทุน / ผู้ประกันตน ต้นทุน / ปริมาณงาน ประสิทธิภาพ ความสามารถในการบริหารจัดการเกี่ยวกับข้อมูลปริมาณมาก % งานที่เสร็จภายในเวลามาตรฐาน ประสิทธิผล ความสามารถในการบริการและจ่ายประโยชน์ทดแทน % การให้บริการภายในเวลามาตรฐาน % การรอคอยการให้บริการ %ความพึงพอใจในการรับบริการ การให้บริการ ความสามารถในการให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมาย % นายจ้างที่ปฏิบัติตามกฎหมาย % การจ่ายเงินสมทบล่าช้า การปฏิบัติตามกฎหมายของนายจ้าง

  20. มีระเบียบกำหนดระดับของผลการปฏิบัติงานหรือไม่มีระเบียบกำหนดระดับของผลการปฏิบัติงานหรือไม่ มี ไม่มี ใช้ระดับที่กำหนดไว้แล้วเป็นเป้าหมาย พอใจระดับผลการปฏิบัติงานในปัจจุบันหรือไม่ ไม่พอใจ พอใจ กำหนดเป้าหมายตามระดับผลการปฏิบัติงาน ในปัจจุบัน จำเป็นต้องปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน โดยรีบด่วนหรือไม่ จำเป็น ไม่จำเป็น กำหนดเป้าหมายแบบท้าทาย กำหนดเป้าหมายในระดับที่ สามารถบรรลุผลได้ ตัวอย่างวีธีตั้งเป้าหมาย การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส.

  21. KPIs ด้าน เป้าหมาย ผู้ประกันตน/เจ้าหน้าที่ ต้นทุน/ผู้ประกันตน 1,500 6.56 ประสิทธิภาพ % ของงานเสร็จในเวลา มาตรฐาน 82 % ประสิทธิผล % ของการรอคอย ตามเวลาที่กำหนด % ของความพึงพอใจ 93 % การให้บริการ 80 % การปฏิบัติตามกฎหมาย ของนายจ้าง 80 % % นายจ้างปฏิบัติตามกฏหมาย % การจ่ายเงินสมทบล่าช้า 10 % เป้าหมายของแต่ละตัวชี้วัด

  22. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่างผลการปฏิบัติงานด้วยระบบการบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ระดับปฏิบัติการตามตัวชี้วัดที่กำหนด

  23. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ประสิทธิภาพ => ความคุ้มค่าของ งบประมาณที่ใช้จ่ายไป ตัวอย่างผลการปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่ายในการบริการให้ผู้ประกันตน โดยเฉลี่ย 7.74 บาท ต่อผู้ประกันตน 1 คน จากเป้าหมาย 6.56 บาท ต่อผู้ประกันตน 1 คน

  24. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ประสิทธิผล =>บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวอย่างผลการปฏิบัติงาน การวินิจฉัยประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร ปรากฏว่า 97.16 % สามารถดำเนินการเสร็จภายในเวลา 1 วัน จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 95 % การวินิจฉัยกรณีทำฟัน ปรากฏว่า 97.08 % สามารถดำเนินการเสร็จภายในเวลา 1 วัน จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 95 %

  25. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. การให้บริการ ตัวอย่างผลการปฏิบัติงาน 99.21 % ของผู้มารอคอยรับเงินประโยชน์ทดแทนทุกเรื่อง (เอกสารครบถ้วนและไม่มีปัญหา) จะใช้เวลารอคอยไม่เกิน 60 นาที จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 90% 88.50 % พึงพอใจกับเวลาการให้บริการ ณ สำนักงาน จากเป้าหมายที่กำหนดไว้ 80% ข้อเสนอแนะที่ได้รับ : ที่นั่งรอรับเงินไม่เพียงพอ, สถานที่ทำงาน อยู่ไกล, เจ้าหน้าที่ไม่ยิ้ม

  26. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. การปฏิบัติตามกฎหมาย =>บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวอย่างผลการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตามกฎหมายของนายจ้าง - มีนายจ้างขึ้นทะเบียนทั้งสิ้น 28.45% จากเป้าหมายที่กำหนดไว้ 80% ของนายจ้างที่อยู่ในระบบ - มีนายจ้างจ่ายเงินสมทบล่าช้ากว่าที่กฎหมายกำหนด 13.23 % จากเป้าหมายที่กำหนดไว้ 10% ของนายจ้างที่มาจ่ายเงินสมทบ

  27. ด้าน KPIs เป้าหมาย ผล เม.ย. 46 ผู้ประกันตน/เจ้าหน้าที่ ต้นทุน/ผู้ประกันตน 1,500 6.56 1,630 7.74 ประสิทธิภาพ % ของงานเสร็จในเวลา มาตรฐาน 82 % 93.60 % ประสิทธิผล % ของการรอคอย ตามเวลาที่กำหนด % ของความพึงพอใจ 93 % 99.21 % การให้บริการ 88.50 % 80 % 80 % % นายจ้างปฏิบัติตามกฏหมาย % การจ่ายเงินสมทบล่าช้า 28.45 % การปฏิบัติตามกฎหมาย ของนายจ้าง 10 % 13.23 % การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่างผลการปฏิบัติงานเทียบกับเป้าหมาย

  28. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. การพัฒนาระบบ RBM ระดับองค์กรของสปส.

  29. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. RBM ระดับองค์กร ===> เป็นการมุ่งเน้นถึงผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของกรม ในระดับกลยุทธ์ระยะกลางถึงระยะยาวโดยไม่มีการพิจารณาแยกเป็นกองหรือแยกตามกระบวนการ

  30. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ขั้นตอนในการพัฒนาระบบ RBM ระดับองค์กร 1. การวิเคราะห์วิสัยทัศน์และพันธกิจ 2. การกำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ 3. การกำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก 4. การกำหนดแหล่งข้อมูล 5. การตั้งเป้าหมาย

  31. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ขั้นตอนในการพัฒนาระบบ RBM ระดับองค์กร (ต่อ) 6. การรวบรวมข้อมูล 7. การบันทึกข้อมูลและการอนุมัติข้อมูล 8. การวิเคราะห์ผล 9. การรายงานผล

  32. Balanced Scorecard Applied Model การวัดผลการปฏิบัติงานระดับองค์กรของภาคเอกชน 4 ด้าน แนวคิดด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ภายนอก (External Perspective) การมองนอกองค์กรไปยังผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง เช่น รัฐบาล ลูกค้า ผู้รับบริการ สาธารณชน และสิ่งแวดล้อมภายนอก แนวคิดด้านองค์ประกอบ ภายในองค์กร (Internal Perspective) แนวคิดด้านการเงิน (Financial Perspective) ความรับผิดชอบขององค์กร ในด้านความประหยัด ความมี ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าของ เงิน และผลิตภาพ รวมไปถึง การทุจริตและประพฤติมิชอบ การมองภายในองค์กรถึงบุคลากร กระบวนการทำงาน โครงสร้างองค์กร รวมถึงการบริหารทรัพยากรบุคคล สมรรถนะของบุคลากร พฤติกรรมองค์กร วัฒนธรรม ค่านิยม กระบวนการและแนวทางปฏิบัติ แนวคิดด้านนวัตกรรม (Innovation Perspective) ความสามารถขององค์กรในอนาคตความสามารถในการเปลี่ยนแปลง พัฒนา ปรับปรุง และปฏิบัติอย่างมีกลยุทธ์ มีความคิดริเริ่ม

  33. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่าง CSFs และ KPIs CSFs External Perspective CSF1 - นายจ้าง ลูกจ้าง/ผู้ประกันตนได้รับบริการที่มีคุณภาพเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ • KPI ร้อยละของการทำงานเสร็จภายในเวลามาตรฐาน • KPIร้อยละของความพึงพอใจของผู้มารับบริการ ณ สำนักงาน CSF3 - ลูกจ้าง/ผู้ประกันตนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพและเป็นธรรม • KPI อัตราส่วนการร้องเรียนต่อผู้รับบริการทางการแพทย์ วิสัยทัศน์ สปส.

  34. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่าง CSFs และ KPIs CSFs KPIs Internal Perspective • CSF6 - บุคลากรที่มีอุดมการณ์ร่วม มีทักษะสูง และมีขวัญและกำลังใจสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ • CSF8 - ระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบันช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผล • KPI ร้อยละของผู้บริหารที่มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ • KPI ร้อยละของเจ้าหน้าที่ที่มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน • KPI อัตราการสูญเสียเจ้าหน้าที่ • KPI ร้อยละของข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในฐานข้อมูล วิสัยทัศน์ สปส.

  35. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่าง CSFs และ KPIs CSFs KPIs Innovation Perspective • CSF11 - ความก้าวหน้าของการพัฒนาแนวทาง วิธีการให้ความคุ้มครองและรูปแบบสิทธิประโยชน์ • KPI ร้อยละของความก้าวหน้าในการดำเนินการตามแผนการขยายความคุ้มครอง วิสัยทัศน์ สปส.

  36. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่าง CSFs และ KPIs CSFs KPIs Financial Perspective • CSF13 - กองทุนมีความเจริญเติบโตและความมั่นคง • KPI ร้อยละผลตอบแทนจากการลงทุน วิสัยทัศน์ สปส.

  37. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่าง ผล RBM และการนำไปใช้ในการบริหารงานในหน่วยบริการ ตัวชี้วัด - ร้อยละของการให้บริการงานจ่ายประโยชน์ทดแทนเสร็จภายในเวลาที่กำหนด เป้าหมาย - ร้อยละ 85 ของผู้ได้รับบริการทั้งหมด ผลการปฏิบัติงาน - ร้อยละ 93.60 วิเคราะห์ผลที่ได้ -- ไม่สามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด การปรับปรุง แก้ไข ลดขั้นตอน จัดทำเป็น One stop service มอบอำนาจมากขึ้น เกลี่ยเจ้าหน้าที่จากงานอื่น มาช่วยงานช่วงเร่งด่วน วิเคราะห์สาเหตุ ขั้นตอนการทำงานมาก จำนวนเจ้าหน้าที่น้อย ไม่มีการมอบอำนาจ ต้องรออนุมัติจากเจ้าหน้าที่เพียง 1 คน

  38. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ตัวอย่าง ผล RBM และการนำไปใช้ในการกำหนดนโยบาย ตัวชี้วัด - ร้อยละของนายจ้างที่จ่ายเงินสมทบล่าช้า เป้าหมาย - ไม่เกินร้อยละ 10 ของนายจ้างที่ส่งเงินสมทบ ผลการปฏิบัติงาน - ร้อยละ 13.23 วิเคราะห์ผลที่ได้ -- ไม่สามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งส่งผลให้ต้องเสียเวลา และบุคลากร ในการติดตามทวงถาม ทั้งทางโทรศัพท์ และหนังสือ วิเคราะห์สาเหตุ นายจ้างไม่ต้องการมาติดต่อสำนักงานบ่อย ๆ เนื่องจากเสียเวลา ยอมเสียเงินค่าปรับ โดยการมาส่ง 3 เดือนต่อ 1 ครั้ง การปรับปรุงงาน ปรับปรุงวิธีการนำส่งเงินสมทบ เพื่อเป็นทางเลือก โดยให้สามารถส่งเงินและแบบทางธนาคาร ทางอินเตอร์เน็ตได้

  39. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. บทเรียนจากประสบการณ์

  40. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ประโยชน์ที่จะได้รับจากระบบ RBM • ปรับปรุงกระบวนการทำงานในแต่ละจังหวัด • การจัดสถานที่ทำงานให้เป็น One-Stop-Service • มีการมอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้น • ปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ • เป็นเครื่องมือในการติดตามงาน • เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร • ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น เพื่อพัฒนาคุณภาพของงาน

  41. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ประโยชน์ที่จะได้รับจากระบบ RBM • ผู้บริหารระดับสูงจะทราบว่าองค์กรอยู่ ณ ตำแหน่งใด • สนับสนุนองค์กรให้สามารถเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานในองค์กรได้ มีการตั้งเกณฑ์เทียบ Benchmarking เพื่อหาว่าหน่วยงานใดปฏิบัติงานดีที่สุด • สนับสนุนให้องค์กรมีวิสัยทัศน์ • ให้ข้อมูลผลการปฏิบัติงานต่อประชาชน (ตรวจสอบได้) • จัดสรรงบประมาณตรงตามความต้องการ และ สถานการณ์ที่เป็นจริง

  42. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ปัญหาและแนวทางแก้ไข ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข 1. ความไม่เข้าใจของเจ้าหน้าที่ 1. จัดอบรมสัมมนาปีละ 2 ครั้ง ทำเอกสารคู่มือ VDO ออก ติดตามงาน 2. ตั้งทีมงาน กระจายงาน เฉพาะงานที่จำเป็น 2. ปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น (เก็บข้อมูลทุกวัน) 3. ประชุมวิเคราะห์ผลร่วมกัน 3. การวิเคราะห์ผลปฏิบัติงาน

  43. การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. ข้อเสนอแนะในการนำระบบนี้มาใช้ 1. บุคลากร มีความเข้าใจ 2. ลดความยุ่งยากในการเก็บข้อมูลการประมวลผล 3. กำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ 4. ผู้บริหารเห็นความสำคัญนำไปใช้ประโยชน์ 5. มีทีมงานที่มีความสามารถ

  44. เปรียบเทียบ การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ใน สปส. การนำระบบ RBM มาใช้ในการบริหารงานของ สปส. สำนักงานประกันสังคม ภารกิจหลัก บรรลุวิสัยทัศน์ ปี 2005 ? วิสัยทัศน์ ปี 2005 กำหนดเป้าหมายในการทำงาน ตามตัวชี้วัด เช่น 90% ทำงานเสร็จ ภายในเวลาที่กำหนด • เช่น • ใช้ในการจัดสรรบุคลากร • ใช้ปรับปรุงนโยบายการให้บริการ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ใช้ปรับปรุง ระดับนโยบาย วิเคราะห์ผล / รายงานผล ใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพ ระดับปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดด้านต่างๆ • ผลการปฏิบัติงานจาก • ระบบ RBM เช่น • ร้อยละความสำเร็จของงานภายในเวลาที่ • กำหนด (ความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน) • ร้อยละของความถูกต้องในการปฏิบัติงาน • ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ • ต้นทุน (ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร) • จำนวนเงินสมทบที่เก็บได้ • จำนวนเงินประโยชน์ทดแทนที่จ่ายไป • เช่น • 1. การปรับปรุงการปฏิบัติงานในหน่วยงาน • จัดหน่วยงานเป็น One_stop • มีการมอบอำนาจเพื่อให้เกิดความรวดเร็ว • การปรับปรุงสถานที่ จุดบริการให้สะดวกตามข้อคิดเห็นที่ได้รับ • เจ้าหน้าที่รับผิดชอบต่อผลของงาน ใช้เวลาอย่างเต็มที่ เต็มเวลา • 2. ผู้รับบริการมีส่วนในกำหนดวิธีการบริการและคุณภาพงาน • 3. ผู้รับบริการหรือบุคคลทั่วไปสามารถตรวจสอบผลการปฏิบัติงานได้

More Related