1 / 89

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. เอกสารประกอบการประชุม กรมทรัพยากรน้ำ 14 มี.ค. 5 6. PMQA. 1. 4. 2. 3. ประเด็นการนำเสนอ. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ( Fundamental Level).

Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เอกสารประกอบการประชุม กรมทรัพยากรน้ำ 14มี.ค. 56 PMQA

  2. 1 4 2 3 ประเด็นการนำเสนอ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  3. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 3

  4. หลักคิด : 11 Core Values คิด ทำ ปรับ 11 6 8 Systems Perspective มองเชิงระบบ Agility คล่องตัว Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม 10 1 4 5 7 Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า Focus on Future เน้นอนาคต Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ 2 3 9 Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning Improve the organization Lead the organization Manage the organization 4

  5. วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 5

  6. การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ภาคบังคับ แนวทางการส่งเสริมการพัฒนาองค์การ ระบบ GES การพัฒนาองค์การ : มิติภายใน กำหนดเป็น KPI ตามเกณฑ์ PMQA (Full Version) เกณฑ์ Fundamental Level ปีละ 2 หมวดดำเนินการครบถ้วนในปี 54 55 56 57 …… ปี 47 - 51 52 53 54 • พ.ศ. 2547 – 2551 • ศึกษาและพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด • ดำเนินการนำร่อง • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับของส่วนราชการ • พ.ศ. 2552 – 2554 • จัดทำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานขึ้น (Fundamental Level) และกำหนดแนวทางให้ส่วนราชการต่าง ๆ ดำเนินการ ดังนี้ • ส่วนราชการระดับกรม และจังหวัดให้ดำเนินการปีงบประมาณละ 2 หมวด (ดำเนินการครบ 6 หมวด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554) • สถาบันอุดมศึกษา กำหนดให้ดำเนินการปีงบประมาณละ 3 หมวด (ดำเนินการครบ 6 หมวด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553) ภาคสมัครใจ รางวัล PMQA • พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป • ดำเนินการในภาคสมัครใจ (ปี 2555 เริ่มในระดับกรม และปี 2556 ในระดับจังหวัด) โดย • เปิดรับส่วนราชการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (Certified FL)ให้สมัครเข้ารับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  7. 2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 7

  8. หมวด 1 การนำองค์กร ความรับผิดชอบต่อสังคม วิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางองค์กร เป้าประสงค์ ทำงานอย่างมีจริยธรรม LD 5,6 LD 1 ค่านิยม Stakeholder โดยยึด หลักโปร่งใส 2waysแต่ละกลุ่ม OP 3,8 LD 6 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ ผลการดำเนินการที่คาดหวัง • นโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี LD 1 • สื่อสาร สร้างความเข้าใจ • ติดตามผล สร้างบรรยากาศ LD 2 LD 3 การทำงานมีผลกระทบต่อสังคม ผ่านกลไกการกำกับดูแลตนเองที่ดี (OP 6) เป็นตัวอย่างที่ดี (role model) LD 7 LD 3 ประเมินความสำเร็จการบรรลุเป้าประสงค์ • เชิงรับ-แก้ไข ตัวชี้วัด (5) (หมวด 4.1) ทบทวนผลการดำเนินการ หมวด 2 • เชิงรุกคาดการณ์ • ป้องกัน LD 4 ประเมินความสามารถ การตอบสนองการเปลี่ยนแปลง จัดลำดับความสำคัญ LD 4 ปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร LD 4

  9. การกำหนดทิศทางองค์การการกำหนดทิศทางองค์การ • ผู้รับบริการ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การกำหนดทิศทางองค์การ • วิสัยทัศน์ • ค่านิยม • เป้าประสงค์ (ระยะสั้น/ยาว) • ผลการดำเนินการที่คาดหวัง • ส่วนราชการ/ผู้บริหาร • อธิบดี • รองอธิบดี • ผอ.สำนัก/กอง • บุคลากรในองค์การ • สื่อสาร 2 ทิศทาง • รับรู้เข้าใจ • นำไปปฏิบัติ 9

  10. ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติระดับรอง ทำงานเป็นทีม ตัดสินใจทันท่วงที ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใช้ศักยภาพการทำงานเต็มที่ รายงานผลการดำเนินการ การทบทวน การมอบอำนาจ 10

  11. ตัวอย่างตารางมอบอำนาจ LD2

  12. ผู้บริหาร • กระบวนการ • กิจกรรมการเรียนรู้ • การมีส่วนร่วม เป้าหมายองค์การ • บรรยากาศที่ดี • การบูรณาการ • ความร่วมมือ • ความผูกพันองค์การ • แรงจูงใจการปฏิบัติงาน บุคลากร 12

  13. การทบทวนผลการดำเนินการการทบทวนผลการดำเนินการ • แผนประเมินผลการปฏิบัติงาน • กำหนดแนวทางระยะเวลา • ผู้รับผิดชอบ • กำหนดตัวชี้วัดสำคัญ • อาจทำเป็นแผนภาพ • (Flowchart) • ตัวชี้วัดสำคัญ • การติดตามประเมินผล การดำเนินการตาม ยุทธศาสตร์ • การบรรลุพันธกิจหลัก • ตัวชี้วัดแผนงาน/ โครงการ วิเคราะห์ผลเทียบกับค่าเป้าหมาย นำผลการทบทวน จัดลำดับความสำคัญ ปรับปรุงองค์การ 13

  14. วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยมหลักองค์กร/หลักธรรมาภิบาล GG. • นโยบาย OG 4 ด้าน • ด้านรัฐ สังคมและสิ่งแวดล้อม • ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ด้านองค์การ • ด้านผู้ปฏิบัติงาน มาตรการ/โครงการ แนวทางปฏิบัติ 14

  15. การดำเนินการ • กำหนดแนวทาง/วิธีดำเนินการ • อาจทำเป็นแผนภาพกระบวนการ • วางระบบควบคุมภายในตามแนวทางของ คตง. • รายงานความคืบหน้าการวางระบบต่อผู้บังคับบัญชา • รายงานผลการปรับปรุงตามแบบ ปอ.3 • จัดทำข้อเสนอแนะแผนรับปรุง • การควบคุมภายใน • ประสิทธิภาพ • ประสิทธิผล • ประหยัด • การดูแลรักษาทรัพย์สิน • การป้องกันความเสี่ยง • การป้องกันความผิดพลาด • การป้องกันความเสียหาย • การรั่วไหล • การสิ้นเปลือง • การป้องกันการทุจริต 15

  16. พ.ร.ฎ GG มาตรา 8 (3) “ก่อนเริ่มดำเนินการส่วนราชการต้องจัดให้มีการวิเคราะห์ผลดี ผลเสียให้ครบทุกด้าน กำหนดขั้นตอนการดำเนินการที่โปร่งใส มีกลไกการตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน ในกรณีใดที่มีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และชี้แจงทำความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น” • แนวทางดำเนินการ • มาตรการ วิธีการจัดการผลกระทบทางลบ • มาตรการป้องกัน (กรณีไม่มีผลกระทบ ทางลบ) • อาจทำเป็นแผนภาพกระบวนการ • มีการรายงานผลการจัดการ • มีการทบทวนวิธีการจัดการ • ปรับปรุงแนวทาง/ มาตรการ/ วิธีการ • มาตรการที่กำหนดสอดคล้องกับพันธกิจ ขององค์การ 16

  17. หมวด 2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ทิศทางองค์กร ภายนอก วางแผนยุทธศาสตร์ ปัจจัย โอกาส/ความท้าทาย (OP) ระยะสั้น ยาว SP 1 การจัดทำยุทธศาสตร์ SP 2 ภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก Stakeholder (OP) ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Map) SP 5 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ SP 4 การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ SP 7 ตัวชี้วัดใช้ติดตาม แผนปฏิบัติการ เป้าหมาย • ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ • ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล • ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • - ความเสี่ยงด้านกระบวนการ SP 3 แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล SP 3 จัดสรรทรัพยากร SP 6 นำไปปฏิบัติ SP 6

  18. กระบวนการวางแผน • การวางแผนยุทธศาสตร์ • การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี • ดำเนินการสอดคล้องกับแผนบริหาร ราชการแผ่นดิน • แผนปฏิบัติราชการ • กระทรวง/กลุ่มภารกิจ 18

  19. ปัจจัยที่สำคัญ • วิสัยทัศน์/พันธกิจ • ความต้องการผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (แผน 4 ปี/แผนประจำปี/ตัวชี้วัดตามคำรับรอง) • ความเสี่ยง (ด้านการเงิน/สังคม/ จริยธรรม) • กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ • ปัจจัยอื่นๆ (จุดแข็ง จุดอ่อนหน่วยงาน/ปัจจัยภายในที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน/สภาพแวดล้อม) ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยต่างๆ ของ SP2 19

  20. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล แผนปฏิบัติราชการประจำปี การทบทวนแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล 20

  21. แสดงวิธีการ/ช่องทางการสื่อสารแสดงวิธีการ/ช่องทางการสื่อสาร • การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ ผู้บริหาร การถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติ • การถ่ายทอดกลยุทธ์องค์กรไปสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ • การปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการ • ตัวชี้วัดของแต่ละแผนปฏิบัติการ • บทบาทหน้าที่ของบุคลากรต่อการบรรลุเป้าหมายองค์การ • แสดงช่องทางที่บุคลากรใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บุคลากร 21

  22. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) • แสดงให้เห็นถึงการถ่ายทอดระบบตัวชี้วัด (แผน/ปฏิทิน กิจกรรม) • มีการสื่อสารถ่ายทอดอย่างทั่วถึง • มีการผูกมัด (Commitment)ต่อความสำเร็จตาม เป้าหมายองค์การ • มีการจัดทำข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร (รายละเอียด KPI /ค่าเป้าหมาย) • มีเกณฑ์ประเมินผลความสำเร็จ • มีหลักเกณฑ์และวิธีการที่ใช้ในการจัดสรรสิ่งจูงใจ • มีระบบการติตามความก้าวหน้า • สรุปบทเรียน/การปรับปรุง • ผลการประเมินเชื่อมโยงกับระบบแรงจูงใจ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ระดับองค์การ การถ่ายทอด ระดับหน่วยงาน (ทุกสำนัก/กอง) การถ่ายทอด ระดับบุคคล (1 หน่วยงาน) 22

  23. การติดตาม ผลการดำเนินงาน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนงาน/โครงการ • ระยะเวลาดำเนินการในแต่ละกิจกรรม • ผู้รับผิดชอบแต่ละแผนงานโครงการ • การจัดสรรงบประมาณ และการจัดสรรทรัพยากรอื่น ๆ • แสดงความสำเร็จการดำเนินการตามรายละเอียดแผนงานโครงการ • แสดงผลการติดตามผลการดำเนินการในแผนแต่ละประเภท • อาจใช้โปรแกรม Microsoft Project ช่วยติดตามผลการดำเนินงาน 23

  24. ความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO • การกำหนดเป้าหมายบริหารความเสี่ยง • การระบุความเสี่ยง • การประเมินความเสี่ยง • กลยุทธ์ที่ใช้จัดการแต่ละความเสี่ยง • กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง • ข้อมูล/การสื่อสารด้านบริหารความเสี่ยง • การติดตามผลและเฝ้าระวังความเสี่ยง • ความเสี่ยงตามหลักธรรมภิบาล • หลักประสิทธิผล • หลักประสิทธิภาพ • หลักการมีส่วนร่วม • หลักความโปร่งใส • หลักการตอบสนอง • หลักภาระรับผิดชอบ • หลักนิติธรรม • หลักการกระจายอำนาจ • หลักความเสมอภาค • มุ่งเน้นฉันทามติ • การดำเนินการ • คัดเลือกแผนงาน/โครงการอย่างน้อยประเด็นยุทธศาสตร์ละ 1 แผนงาน/โครงการ • เป็นแผนงาน/โครงการที่ได้รับงบประมาณ /ผลกระทบสูงต่อการบรรลุความสำเร็จ • วิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลัก COSO และหลักธรรมาภิบาล • มีแผนบริหารความเสี่ยงที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ • มีตัวชี้วัดความสำเร็จของเป้าหมายตามแผนบริหารความเสี่ยง • สื่อสารถ่ายทอด/ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง • รายงานความก้าวหน้าต่อผู้บริหาร อย่างน้อย 2 ไตรมาส (ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ) • สรุปผลการดำเนินงาน/เปรียบเทียบก่อน – หลัง ดำเนินการตามแผน 24

  25. หมวด 3 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต สอดคล้องตาม OP (8) CS1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หาเครื่องมือที่เหมาะสมแต่ละกลุ่ม CS2 รับฟังความต้องการ/ความคาดหวัง วางแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2) ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6) หาความต้องการร่วมของแต่ละกลุ่ม(Common Need) CS 2 พัฒนาบริการ (หมวด 6) - ขอข้อมูล- ขอรับบริการ- ร้องเรียน- กิจกรรม การสร้างความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ออกแบบกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี CS4 CS5 CS7 CS3 สื่อสาร สร้างความเข้าใจ / กำหนดวิธีปฏิบัติ กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน ติดตามคุณภาพบริการ CS3 วัดความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ CS6 CS6 CS3 ปรับปรุงกระบวนการ (หมวด 6)

  26. Vision Mission Customer & Stakeholder Needs Customer & Stakeholder Profile • ผู้รับบริการ • ผู้รับบริการจากส่วนราชการโดยตรง/ผ่านช่องทางการสื่อสาร • ผู้รับบริการที่เป็นส่วนราชการก็ได้ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผู้รับบริการของผู้รับบริการของส่วนราชการ • ผู้ได้รับผลกระทบทางตรง ทางอ้อม • ประชาชน • ชุมชนในท้องถิ่น • บุคลากรในส่วนราชการ • ผู้ส่งมอบงาน • ผู้รับบริการ 26

  27. ตัวอย่าง CS 1: การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  28. ช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การสำรวจรายกลุ่ม (Focus Group) • การรายงานเหตุการณ์ที่สำคัญ • การมีปฏิสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด • การรวบรวมข้อร้องเรียน/ข้อวิจารณ์จากผู้ปฏิบัติที่ได้สัมภาษณ์ผู้รับบริการที่ไม่พึงพอใจ • การสัมภาษณ์ • ข้อมูลป้อนกลับจากช่องทางต่างๆ • จดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ • เว็บไซต์ • Call Center • กล่องรับฟังข้อคิดเห็น ประสิทธิภาพ ช่องทางการสื่อสาร • เหมาะสมกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • สะดวก และมีประสิทธิภาพ • นำข้อมูลมาปรับปรุงการทำงาน • แสดงตัวอย่างการปรับปรุงการทำงาน 1 กระบวนการ /1 โครงการ 28

  29. ตัวอย่าง CS 2: การรับฟังและเรียนรู้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  30. การวิเคราะห์ ดำเนินการและปรับปรุง การรวบรวม และการจัดการข้อร้องเรียนฯ • กำหนดช่องทางและวิธีการรับฟัง ที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย • กำหนดวิธีการ และระยะเวลาแล้วเสร็จ • กำหนดผู้รับผิดชอบ และมอบอำนาจในการจัดการ • กำหนดระบบการรายงาน • นำข้อร้องเรียนมาปรับปรุง โดยเชื่อมโยงกับการปรับปรุงกระบวนงานในหมวด 6 • กำหนดตัวชี้วัดเป้าหมาย • การติดตามคุณภาพการให้บริการ • ระบุตัวอย่างการนำเรื่องดังกล่าวมาดำเนินการปรับปรุง • ข้อร้องเรียน • ข้อเสนอแนะ • ข้อคิดเห็น • คำชมเชย • คุณภาพการให้บริการ ผู้รับผิดชอบ 30

  31. ตัวอย่าง CS 3: กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน

  32. กำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกำหนดกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบความต้องการและความคาดหวัง การสร้างความสัมพันธ์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • มีช่องทางการสื่อสารกับเครือข่าย • ช่องทางการสื่อสารอย่างน้อย 2 ช่องทาง • การจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ ผู้รับ บริการ การสร้างเครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้รับ บริการ 32

  33. ตัวอย่าง : กรมชลประทาน CS 4: การสร้างเครือข่ายและจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ • ทำดีเพื่อในหลวง/พระราชินี • รักษ์สิ่งแวดล้อม/ปลูกป่า/ดูแลแม่น้ำ • อนุรักษ์ธรรมชาติ/เก็บขยะ • รณรงค์ความปลอดภัย/ถนนสีขาว • ประหยัดพลังงาน/ใช้พลังงานทดแทน/ขี่จักรยาน • ส่งเสริมดูแลสุขภาพ/ป้องกันโรค • ต่อต้านสิ่งเสพติด/ของมึนเมา • รักษาวัฒนธรรม/วัตถุโบราณ • ส่งเสริมความเข้มแข็งสถาบันครอบครัว • ฯลฯ

  34. การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน • ร่วมรับรู้ • ร่วมเรียนรู้ • ทำความเข้าใจ • ร่วมแสดงทัศนะ • ร่วมให้ข้อคิดเห็น • ร่วมเสนอปัญหา • ร่วมคิดแนวทางในการแก้ไขปัญหา • ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ • ร่วมในกระบวนการพัฒนา • ระดับการมีส่วนร่วม 5 ระดับ • ระดับการให้ข้อมูล (Inform) • ระดับการปรึกษาหารือ (Consult) • ระดับการเข้ามาเกี่ยวข้อง (Involve) • ระดับการร่วมมือ (Collaborate) • ระดับการเสริมอำนาจประชาชน (Empower) • การดำเนินการ • แสดงระบบ/วิธีการ/กลไกการส่งเสริมการมีส่วนร่วม • มีระบบ/วิธีการในการเปิดช่องทางการมีส่วนร่วม • ช่องทางการสื่อสาร อย่างน้อย 3 ช่องทาง • แสดงตัวอย่างโครงการ/กิจกรรมการมีส่วนร่วมไม่ต่ำกว่าระดับ Involve • มีรายงานเผยแพร่ผลการดำเนินงาน • มีกรอบแนวทางในการยกระดับการมีส่วนร่วมที่สูงขึ้นจากเดิม • แสดงการขยายขอบเขต/เป้าหมายการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชน 34

  35. ตัวอย่าง CS 5: การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม ประชาชนร่วมสังเกตและตรวจสอบขั้นตอนการก่อสร้างตามขั้นตอนในแผ่นพับ และจัดส่งมายังกรมทางหลวงชนบท

  36. ตัวอย่าง : กรมทางหลวงชนบท การมีส่วนร่วมภาคประชาชน ประชาชนร่วมสังเกตและตรวจสอบขั้นตอนการก่อสร้างตามขั้นตอนในแผ่นพับ และจัดส่งมายังกรมทางหลวงชนบท

  37. การวัดความพึงพอใจ การวัดความไม่พึงพอใจ • แบบสอบถาม • การสัมภาษณ์รายกลุ่ม/ เชิงลึก • แบบสอบถาม • แยกแบบสอบถามออกมาเป็นการเฉพาะจากแบบการวัดความ พึงพอใจ • คำถามปลายเปิด • ให้เรียงลำดับความไม่พึงพอใจ • จัดกลุ่มประเภทเป็นหมวดเพื่อง่ายต่อการประเมินผล • นำผลการสำรวจ • มาปรับปรุงการดำเนินการและปรับปรุงการให้บริการ 37

  38. CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ

  39. กำหนดมาตรฐานการให้บริการกำหนดมาตรฐานการให้บริการ กำหนดวิธีปฏิบัติของบุคลากร • คู่มือการให้บริการ (การแต่งกาย/ การให้ ข้อมูล/การรับโทรศัพท์/ การทักทาย ฯลฯ) • การพัฒนาบุคลากร (Service Mind) • การติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน • ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน • ประชาชนรับทราบ • ระยะเวลาแล้วเสร็จ • ขั้นตอนการให้บริการ • ประกาศในที่เปิดเผย • คู่มือการติดต่อราชการ • แผนภูมิการให้บริการ 39

  40. ตัวอย่าง : กรมทางหลวงชนบท CS 7: มาตรฐานการให้บริการ - มีคู่มือกระบวนงานมาตรฐานให้บริการประชาชน 10 กระบวนงาน - มีการเผยแพร่กระบวนงานผ่านช่องทางต่างๆ

  41. ตัวอย่าง CS 7: มาตรฐานการให้บริการ

  42. หมวด 4 ระบบการวัด ติดตามผลการปฏิบัติงาน (หมวด 6)Daily Management IT 5 - leading/lagging indicator ข้อมูลเปรียบเทียบ ผลการดำเนินการโดยรวม (หมวด 2/7) เลือกข้อมูลสารสนเทศ IT 1 - 3 นวัตกรรม (หมวด 2/6) รวบรวม การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ทบทวนผลการดำเนินการ (หมวด 1) วิเคราะห์ผล วางแผนยุทธศาสตร์ (หมวด 2) สื่อสารผลการวิเคราะห์ สอดคล้องตาม OP (4) วางระบบการจัดการ- ข้อมูลสารสนเทศ - อุปกรณ์สารสนเทศ - ความพร้อมใช้งาน- การเข้าถึง - เชื่อถือได้- ปลอดภัย- ใช้งานง่าย IT 4, 6 IT 5,6 สอดคล้องตาม OP (15) IT 7 การจัดการสารสนเทศและความรู้ การจัดการความรู้ ความรู้ บุคลากร ข้อมูลสารสนเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย IT 1 - 3 รวบรวม ผู้รับบริการ/องค์กรอื่น จัดให้เป็นระบบ Best Practices ถ่ายทอด/Sharing

  43. ระบบฐานข้อมูล • ข้อมูลสนับสนุนยุทธศาสตร์ • ข้อมูลสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ • ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของคำรับรองการปฏิบัติราชการ (ปี 2549-2553) • การจัดเก็บข้อมูล • ตัวข้อมูล • แหล่งข้อมูล • ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล • การสอบทานข้อมูล • ผู้ใช้ข้อมูล ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย 43

  44. ระบบฐานข้อมูล กระบวนการสร้างคุณค่า ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย • กระบวนการสร้างคุณค่า • กระบวนการสำคัญสูงสุดในการปฏิบัติ ตามภารกิจ • สร้างคุณค่าให้กับผู้รับบริการ • และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • เกี่ยวข้องกับบุคลากรส่วนใหญ่ • มีได้หลายกระบวนการ • มีลักษณะแตกต่างตามภารกิจของ องค์การ • แนวทางดำเนินการ • จัดทำฐานข้อมูลใหม่ • ทบทวน/ปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่ (ปี 2551-2552) • ดำเนินการอย่างน้อยกระบวนการละ 1 ฐานข้อมูล • กรณีมีมากกว่า 4 กระบวนการ ให้ทำ 4 กระบวนการ • CIO หรือ CEO เป็นผู้อนุมัติ 44

  45. ระบบฐานข้อมูล กระบวนการสนับสนุน ครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัย • กระบวนการสนับสนุน • กระบวนการที่สนับสนุนกระบวนการ สร้างคุณค่า • สนับสนุนองค์การ • สนับสนุนบุคลากร • สนับสนุนการปฏิบัติงานประจำวัน • งานการเงินบัญชี • การจัดสิ่งอำนวยความสะดวก • งานด้านกฎหมาย • งานด้านทรัพยากรบุคคล • ฯลฯ • แนวทางดำเนินการ • จัดทำฐานข้อมูลใหม่ • ทบทวน/ปรับปรุงฐานข้อมูลที่มีอยู่ (ปี 2551-2552) • ดำเนินการอย่างน้อยกระบวนการละ 1 ฐานข้อมูล • กรณีมีมากกว่า 2 กระบวนการ ให้ทำ 2 กระบวนการ • CIO หรือ CEO เป็นผู้อนุมัติ 45

  46. การเข้าถึงระบบเครือข่ายข้อมูลการเข้าถึงระบบเครือข่ายข้อมูล และสารสนเทศ ประชาชน • สะดวก • รวดเร็ว • ทั่วถึง ระบบ IT พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540 • การดำเนินการ • แสดงการดำเนินการตาม พ.ร.บ. ข้อมุลข่าวสาร • แสดงการให้บริการ/การสืบค้นข้อมูล • แสดงงานบริการที่ได้พัฒนาขึ้นปี 2553 ผ่านระบบ IT • แสดงงานบริการที่ได้ปรับปรุงปี 2553 (ถ้ามี) ส่วนราชการ 46

  47. ตัวอย่าง ....การจัดการข้อมูลสารสนเทศ

  48. การติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย • จัดประเภทตัวชี้วัดเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้ไวต่อการติดตาม (ติดตามมากเป็นพิเศษ/ติดตามมาก/ติดตามปกติ) • กำหนดระยะเวลาการติดตาม ให้สอดคล้องกับ KPI (สัปดาห์/ รายเดือน) • กำหนดตัวชี้วัดหลัก/ตัวชี้วัดย่อย เพื่อรับทราบผลการ ดำเนินงาน • ใช้กลไกช่วยในการติดตาม • สัญญาณไฟจราจร • Operation Room • Management Cockpit • War Room • ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) • ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (EIS) • ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) • การดำเนินการ • แสดงระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย • แสดงข้อมูลความถี่/ความเสียหายของภัยที่เกิดขึ้น • แสดงการรายงาน/นำเสนอข้อมูลต่อผู้บริหารผ่านระบบ EIS / GIS • แสดงการปรับปรุงระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และการเตือนภัย เทียบกับที่เคยมีอยู่ 48

  49. มาตรการป้องกันความเสียหาย มาตรการป้องกันความเสียหาย • การสำรองข้อมูล (Back Up) • การกู้ข้อมูล (Recovery) การบริหารความเสี่ยง แผนแก้ไขปัญหา (IT Contingency Plan) • ระบบ Anti-Virus • ระบบไฟฟ้าสำรอง • การกำหนดสิทธิผู้ใช้ (Access Rights) ระบบรักษาความปลอดภัย 49

  50. ตัวอย่าง ....การจัดการระบบความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศ www.themegallery.com

More Related