1 / 23

กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. การประชุมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอด( cascading ) ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กร สู่ ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล. กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. วันที่ 8 - 9 มิถุนายน 2553 ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารกริต สามะพุทธิ.

vic
Download Presentation

กรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช การประชุมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอด(cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กร สู่ ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช วันที่ 8 - 9 มิถุนายน 2553 ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารกริต สามะพุทธิ

  2. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช PMQA การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PublicSectorManagement Quality Award) พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554

  3. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มีการถ่ายทอด (cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับกรม ลงสู่ระดับสำนัก /กอง /กลุ่ม (ทุกหน่วยงานในสังกัด) และ ระดับบุคคลอย่างน้อย 1 สำนัก อย่างเป็นระบบ

  4. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนที่ยุทธศาสตร์(strategy map)ระดับกรม มีการสื่อสารทำความเข้าใจอย่างทั่วถึง มีพันธะ(commitment) ต่อความสำเร็จ มีการจัดทำข้อตกลง มีระบบติดตามความก้าวหน้า

  5. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช วิสัยทัศน์ : ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ได้รับการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ประสิทธิผล ตามพันธกิจ 4 ฐานข้อมูลด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่าได้รับการพัฒนาและใช้ประโยชน์ คุณภาพการให้บริการ 2 พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ได้รับการบริหาร จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ การป้องกันและเตือนภัยพิบัติธรรมชาติ ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มีกลไกและเครื่องมือในการบริหาร พื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 1 6 3 องค์ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่าได้รับการพัฒนาและถ่ายทอด การพัฒนาองค์กร 5

  6. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช วิสัยทัศน์ “ ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน ” พันธกิจ 1. อนุรักษ์ คุ้มครอง และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 2. วิจัย พัฒนาและให้บริการด้านวิชาการ 3. บริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าโดยกระบวนการมีส่วนร่วม บนพื้นฐานเทคโนโลยีที่เหมาะสม 4. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2552 – 2554 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ค่านิยมองค์การ PROTECT = คุ้มครองรักษา P = Participation หมายถึง ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม R = Relevance หมายถึง  งานที่ทำตรงภารกิจ O = Outcome หมายถึง มุ่งเน้นผลลัพธ์จากการดำเนินงานเป็นหลัก T = Team หมายถึง ทำงานเป็นทีม E = Efficiency หมายถึง ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ C = Conservation หมายถึง อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้คงความอุดมสมบูรณ์สามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน T = Technology หมายถึง นำวิทยาการมาใช้ในการปฏิบัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 อนุรักษ์ คุ้มครอง ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพ ยากรป่าไม้และสัตว์ป่าอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ตอบสนองต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สำรวจและจัดทำฐาน ข้อมูลเพื่อคุ้มครองพื้นที่อนุรักษ์ซึ่งมีความสำคัญของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบป้องกัน เตือนภัยพิบัติธรรมชาติในพื้นที่อนุรักษ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่อนุรักษ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และ สัตว์ป่า ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาและปรับปรุงเครื่องมือและกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในพื้นที่อนุรักษ์ให้มีประสิทธิภาพ

  7. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2552 – 2554 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช • เป้าประสงค์ 1 • พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • - พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการบริหารจัดการ 73 ล้านไร่ • - พื้นที่ป่าอนุรักษ์มีความอุดมสมบูรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 • - พื้นที่ป่าอนุรักษ์มีการบริหารจัดการตาม แผน ปฏิบัติการประจำปีงบประ มาณ ร้อยละ 90 • - ชุมชนเป้าหมายรอบพื้นที่ป่าอนุรักษ์มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 • - ดำเนินการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ทั่วประเทศ • เป้าประสงค์ 2 • ฐานข้อมูลด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้และสัตว์ป่า ได้รับการพัฒนาและใช้ประโยชน์ • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • - จำนวนฐานข้อมูลที่ได้รับการพัฒนาและใช้ประโยชน์ 5 ฐานข้อมูล • - ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในการใช้บริการข้อมูล ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 • - การดำเนินการเป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ร้อยละ 90 • - ผู้บริหาร ประชาชนและหน่วยงานภายนอกได้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ร้อยละ 80 • - ดำเนินการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ทั่วประเทศ • เป้าประสงค์ 3 • การป้องกันและเตือนภัยพิบัติธรรมชาติในพื้นที่ป่าอนุรักษ์มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • - จำนวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการติดตามการเปลี่ยน แปลงและเตือนภัยพิบัติ 3 ครั้ง/ปี • - ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานมีความสมบูรณ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 • - สามารถประมวลผลในระบบเตือนภัยได้ตามแผน งานที่กำหนด ร้อยละ 80 • - ผู้บริหารได้ใช้งานระบบเตือนภัยได้อย่างมีประสิทธิ ภาพและประชาชนได้รับประโยชน์ ร้อยละ 80 • - พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการดูแลตลอดปีงบประมาณ 73 ล้านไร่ • เป้าประสงค์ 4 • พื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้รับการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ดีขึ้น • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • - อุทยานแห่งชาติที่มีนักท่องเที่ยวมาก 10 อันดับแรกมีมาตรการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ 10 แห่ง • - คุณภาพสิ่งแวดล้อมในอุทยานแห่งชาติที่มีนักท่อง เที่ยวมาก 10 อันดับแรกดีขึ้น 10 แห่ง • - การดำเนินการเป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ร้อยละ 90 • - นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบ การและชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 80 • - ดำเนินการในพื้นที่อุทยานแห่งชาติที่มีนักท่อง เที่ยวมาก 10 อันดับแรก • เป้าประสงค์ 5 • องค์ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้และสัตว์ป่าได้รับการพัฒนาและ ถ่ายทอด • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • - จำนวนเรื่อง/ครั้ง ของการถ่ายทอดและเผยแพร่ด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าที่ได้รับการพัฒนา 5 ด้าน • - องค์ความรู้ด้านทรัพยา กรป่าไม้และสัตว์ป่ามีการนำ ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 80 • - องค์ความรู้ด้านทรัพยา กรป่าไม้และสัตว์ป่าได้รับการถ่ายทอดตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณร้อยละ 90 • - ผู้บริหาร หน่วยงาน ประชาชนและเยาวชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ตามกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 80 • - ดำเนินการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ทั่วประเทศ • เป้าประสงค์ 6 • มีกลไกและเครื่องมือในการบริหารพื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพ • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย • - กฎหมายลำดับรองได้รับการแก้ไข ปรับปรุง 20 ฉบับ • - กฏหมายที่แก้ไขปรับปรุงสอดคล้องกับสภาพการปัจจุบัน ร้อยละ 90 • - การแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายเป็นไปตามแผน ปฏิบัติการ ร้อยละ 80 • - ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ • สัตว์ป่า ร้อยละ 80 • - มีการบังคับใช้กฏหมายอย่างเข้มงวดทั่วถึงและเสมอภาคในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ทั่วประเทศ • กลยุทธ์ 1 • บริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าอย่างมีส่วนร่วมที่ตอบสนองต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • กลยุทธ์ 2 • สร้างระบบสารสน เทศข้อมูลกลางเพื่อการบริหารจัดการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่า • กลยุทธ์ 3 • พัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อการป้องกันให้มีประสิทธิภาพและเตือนภัยในป่าอนุรักษ์ • กลยุทธ์ 4 • เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ • กลยุทธ์ 6 • แก้ไขปรับปรุง กฎหมายและพัฒนากลไกเครื่องมือในการป้องกันปราบปราม และการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่าให้เหมาะสมกับสภาพการปัจจุบัน • กลยุทธ์ 5 • พัฒนาองค์ความรู้และถ่ายทอดในการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้และ สัตว์ป่าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

  8. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2552 – 2554 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันรักษาป่าตามแนวพระราช ดำริ (มติ ครม. 18 ธ.ค.50) 2) โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่า 3) โครงการเร่งรัดการจัดทำแนวเขตในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 4) โครงการฟื้นฟูพื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ 5) ผลผลิตที่ 1 พื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ - กิจกรรมอนุรักษ์ ฟื้นฟู วิจัย และพัฒนาป่าไม้ - กิจกรรมโครงการสำรวจจัดทำ แผนที่ครอบครองที่ดินในพื้นที่ ป่าอนุรักษ์ โดยใช้เทคโนโลยี สำรวจจากระยะไกล 6) โครงการแผนการป้องกันและควบคุมโรคในสัตว์ปีกธรรมชาติ(ไข้หวัดนก) โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) ผลผลิตที่ 3 ฐานข้อ มูลพื้นที่ป่าอนุรักษ์ - กิจกรรมจัดทำฐาน ข้อมูล - กิจกรรมพัฒนาภูมิ สารสนเทศแห่งชาติ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) โครงการศูนย์ข้อมูลติดตามการเปลี่ยนแปลง พื้นที่ป่าและเตือนภัยพิบัติ ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1)โครงการส่งเสริมการท่อง เที่ยวเชิงอนุรักษ์และพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพสิ่ง แวด ล้อมในพื้นที่ป่าอนุรักษ์โดยชุมชน มีส่วนร่วม 2) ผลผลิตที่ 2 การบริ การท่องเที่ยวเชิงอนุ รักษ์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน - กิจกรรมท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) ผลผลิตที่ 4 องค์ความ รู้ด้านการอนุรักษ์ ป่าไม้และสัตว์ป่า - กิจกรรมบริหาร จัดการ ความหลาก หลายทางชีวภาพ - กิจกรรมวิจัยด้านป่า ไม้และสัตว์ป่า โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) โครงการพัฒนากฎหมาย 2) โครงการบริหารจัดการพื้นที่ป่าอนุรักษ์แบบมีส่วนร่วม 3) โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (SP2) โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) โครงการประชาป้องภัยดับไฟป่า 2) โครงการพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์สัตว์ป่า 3) โครงการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิ ภาพงานด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า 4) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพหน่วย งาน ในการป้องกันรักษาป่าและ สภาพป่า 5) โครงการฟื้นฟูป่าไม้ในพื้นที่โครง การอันเนื่องมาจากพระราชดำริและโครงการขยายผลตามแนวพระราชดำริ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) โครงการฟื้นฟูสภาพ แวดล้อมในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 2) โครงการเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ของอุตสาห กรรมท่องเที่ยวในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1) โครงการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่โครง การอันเนื่องมาจากพระราช ดำริ 2) โครงการพัฒนาสวนพฤกษศาสตร์และสวนรุกขชาติเพื่อเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวทางธรรมชาติในพื้นที่อนุรักษ์ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม

  9. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช วิสัยทัศน์ : ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ได้รับการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ประสิทธิผล ตามพันธกิจ 4 ฐานข้อมูลด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่าได้รับการพัฒนาและใช้ประโยชน์ คุณภาพการให้บริการ 2 พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ได้รับการบริหาร จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ การป้องกันและเตือนภัยพิบัติธรรมชาติ ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มีกลไกและเครื่องมือในการบริหาร พื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 3 6 1 องค์ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่าได้รับการพัฒนาและถ่ายทอด การพัฒนาองค์กร 5

  10. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช การดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การ สู่ระดับหน่วยงานและบุคคล Strategy Map ระดับกรม เสนอแผนปฏิบัติการถ่ายทอดตัวชี้วัดให้อธิบดีอนุมัติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กพร. สื่อสารทำความเข้าใจทุกหน่วยงาน Strategy Map ระดับสำนัก/กอง/กลุ่ม ถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมายสู่หน่วยงาน กลุ่ม 1 สอช./สอป./สปฟ./สบอ. สฟอ./สตน./สนร./สบอ. กลุ่ม 2 จัดทำตัวชี้วัดบุคคล สวจ./กนต./กคส./สบอ. กลุ่ม 3 สผส./สบก./กตน./กพร./ สผต./หน้าห้อง/สบอ. กลุ่ม 4 ทำข้อตกลงเป็นหลักฐานทุกระดับ ติดตามประเมินผล

  11. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ตารางการปฏิบัติงาน (road map) กพร.อส. และการประเมินผลงานบุคคล ทุกสำนัก/กอง/กลุ่ม ทำการ cascading และจัดทำตัวชี้วัดลงถึงระดับบุคคล ประชุม คณะกรรมการจัดวางระบบการประเมิน 8 – 9 มิถุนายน ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำ strategy map & cascading กพร. ออกติดตามการจัดทำ Strategy map & cascading สบอ.1-16 และสาขา สบก. ลงประกาศตัวชี้วัดบุคคลทาง www.dnp.go.th ผู้ประเมิน-ผู้รับการประเมิน ทำบันทึกมอบหมายงาน รอบ 2 ทุกสำนัก/กอง/กลุ่ม ทำการ cascading และจัดทำตัวชี้วัดลงถึงระดับบุคคล รายงานผลคำรับรอง รอบ 9 เดือน หน่วยงานสนับสนุน 5 กค. หน่วยงานหลัก 9 กค. ทุกสำนัก/กอง/กลุ่ม ทำการ cascading และจัดทำตัวชี้วัดลงถึงระดับบุคคล 16 กค.รายงานคำรับรองรอบ 9 เดือน กพร. อส. ออกติดตามการดำเนินงานสบอ.1-16 และสาขา กพร. อส. ออกติดตามการดำเนินงานสบอ.1-16 และสาขา ผู้ประเมิน-ผู้รับการประเมิน ทำบันทึกมอบหมายงาน รอบ 2 ประชุมคณะทำงาน การประเมินองค์การและการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 2554 (หมวด 4 และหมวด 2) รายงานผลการคัดเลือก โครงการมุมสร้างสรรค์ ระดับภาค กพร. อส. ออกติดตามการดำเนินงานสบอ.1-16 และสาขา หน่วยงานหลักของแต่ละตัวชี้วัด ตามคำรับรอง ประเมินค่าคะแนนตัวชี้วัดที่รับผิดชอบ กพร.แจ้งทุกหน่วยงานทราบ คณะทำงานคัดเลือก โครงการมุมสร้างสรรค์ ระดับชนะเลิศ แจ้งผลการจัดสรรวงเงิน การประเมิน รอบ 2 รายงานผล คำรับรอง รอบ 12 เดือน หน่วยงานสนับสนุน 8 ตค. รายงานผล คำรับรอง รอบ 12 เดือน หน่วยงานหลัก 15 ตค. 31 ตค. รายงานผลคำรับรอง รอบ 12 เดือน ให้ สนง. ก.พ.ร. รายงานผลการปฏิบัติงานและ ทำการประเมิน รอบ 2 หน่วยงานรายงานผลการประเมินรอบ 2 ให้กรมพิจารณา รายงานผล PMQA รอบ 12 เดือน 13 ตค.

  12. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช วิสัยทัศน์ บริหารจัดการพื้นที่อนุรักษ์แบบบูรณาการเพื่อประโยชน์อย่างยั่งยืนภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ระบบนิเวศต้นน้ำและความหลากหลายทางชีวภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการเฝ้าระวังและป้องกันพื้นที่อนุรักษ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพพื้นที่อนุรักษ์และการจัดการสัตว์ป่าเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างจิตสำนึกและการเรียนรู้ในการอนุรักษ์ป่าไม้ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเชิงรุก พื้นที่อนุรักษ์ในพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธารมีประสิทธิภาพในการเป็นแหล่งพื้นที่ต้นน้ำลำธาร ป่าในพื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่สงวน ชีวมณฑล พื้นที่รอยต่อ ได้รับการป้องกันมิให้ได้รับการคุกคาม พื้นที่อนุรักษ์มีศักยภาพในการใช้ประโยชน์เพื่อตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์แบบเอนกประสงค์ (Multiple Use) ภายใต้ความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่ ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กลไกการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้เกิดการสนับสนุนแผนงาน โครงการสู่การปฏิบัติ ทั้งในระดับนโยบายและระดับพื้นที่ เป้าหมายตามพันธกิจ ชุมชนมีศักยภาพในการเฝ้าระวังและติดตามการเปลี่ยนแปลงสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่ป่าต้นน้ำได้รับการฟื้นฟูให้มีความอุดมสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น มูลค่าทางเศรษฐกิจจากการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ของพันธุ์พืช สัตว์ป่าเพิ่มขึ้น ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว/ผู้มาเยือน ประชาชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ในการเห็นคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพการให้บริการ การบุกรกทำลายป่า การเกิดไฟป่า การค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมายลดน้อยลง ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของชุมชนที่สอดคล้องกับฐานทรัพยากรในท้องถิ่น ประชาชนรับทราบข้อมูลข่าวสารมากยิ่งขึ้น กลไก/องค์กร/โครงสร้าง การบริหารจัดการร่วมระดับชุมชน/พื้นที่ มีการเตรียมและสนับสนุนอุปกรณ์ดับไฟป่า รวมทั้งมีระบบตรวจลาดตระเวนที่มีประสิทธิภาพ มีสถานีส่งเสริมและเพาะพันธ์สัตว์ป่าที่พร้อมให้บริการ มีข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ระบบสื่อความหมายที่ถูกต้อง การปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ที่พัก และระบบสาธารณูปโภค มีกติกา ระเบียบชุมชน ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ มีการประชาสัมพันธ์และสื่อสารสาธารณะที่เหมาะสม ต่อเนื่องและทั่วถึง ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน การพัฒนาองค์กร การเสริมสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ การมีระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ การวิจัยและพัฒนา การมีระเบียบ กลไกและกฎหมายที่เหมาะสมและทันสมัย

  13. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

  14. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

  15. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

  16. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

  17. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

  18. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ระดับคะแนนของผลการประเมินในแต่ละระดับของตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมาย ในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมาย ในระดับ ท้าทายมีความยากค่อนข้างมาก ค่าเป้าหมาย ที่เป็นค่า มาตรฐานโดยทั่วไป ค่าเป้าหมาย ที่มีความยากปานกลาง START แบบตัวชี้วัด : ตัวอย่างชื่อตัวชี้วัด

  19. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ถ่ายทอดเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ตามลำดับชั้นการบังคับบัญชา เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายตามภารกิจและอื่นๆ หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ส่วนราชการ ผู้อำนวยการ ระดับสำนัก/กอง หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา

  20. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ หลักเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมหรือสมรรถนะ พฤติกรรมหรือสมรรถนะ ร้อยละ 20 ผลสัมฤทธิ์ของงาน ร้อยละ 80 หลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ประเมินผลตามพจนานุกรมสมรรถนะหลัก ระดับผลการประเมิน ค่าน้ำหนักของตัวชี้วัดแต่ละตัวห้ามต่ำกว่า 10 และเมื่อรวมทุกตัวแล้วต้องเท่ากับ 100 ตามประกาศกรมอุทยานแห่งชาติฯ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ ลว. 25 ธ.ค. 52 และตามมติที่ประชุมเตรียมความพร้อมเพื่อจัดทำตัวชี้วัดฯ เมื่อวันที่ 15 ก.พ.53 ประเมินรอบที่ 1 (1 ต.ค. ถึง 31 มี.ค.)ประเมินรอบที่ 2 (1 เม.ย. ถึง 30 ก.ย.)

  21. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช นายวีระยุทธ วรรณเลิศสกุล โทร/โทรสาร 02 579 9701 มือถือ 081 965 0799 weerayuth_w26@hotmail.com tn154@hotmail.com กพร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

  22. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

  23. ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

More Related