1 / 23

ความเปราะบางและความเสี่ยงทางการคลัง ภายใต้นโยบายการลงทุนของรัฐบาล

ความเปราะบางและความเสี่ยงทางการคลัง ภายใต้นโยบายการลงทุนของรัฐบาล Vulnerability and Risk of Thailand Fiscal Conditions under Government Investment Policy. ศ. ดร. สกนธ์ วรัญญู วัฒนา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หัวข้อการนำเสนอ. ที่มาของปัญหาความเสี่ยง และนิยามประเภทความเสี่ยง

vevay
Download Presentation

ความเปราะบางและความเสี่ยงทางการคลัง ภายใต้นโยบายการลงทุนของรัฐบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเปราะบางและความเสี่ยงทางการคลัง ภายใต้นโยบายการลงทุนของรัฐบาล Vulnerability and Risk of Thailand Fiscal Conditions under Government Investment Policy ศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. หัวข้อการนำเสนอ • ที่มาของปัญหาความเสี่ยง และนิยามประเภทความเสี่ยง • โครงสร้างฐานะการคลังและความเสี่ยงการคลังในปัจจุบัน • ภาระความเปราะบางและความเสี่ยงการคลังในอนาคต • ข้อสรุปและเสนอแนะเชิงนโยบาย

  3. หัวข้อการนำเสนอ • ที่มาของปัญหาความเสี่ยง และนิยามประเภทความเสี่ยง • โครงสร้างฐานะการคลังและความเสี่ยงการคลังในปัจจุบัน • ภาระความเปราะบางและความเสี่ยงการคลังในอนาคต • ข้อสรุปและเสนอแนะเชิงนโยบาย

  4. ที่มาของปัญหา • รัฐบาลที่ผ่านมาได้มีการดำเนินการกระตุ้นเศรษฐกิจทั้งเพื่อผลทางเศรษฐกิจ และนโยบายของรัฐบาล • มาตรการที่ใช้ของรัฐบาลประกอบทั้งที่อยู่ในระบบงบประมาณ และนอกงบประมาณและสร้างความผูกพันทางงบประมาณนำไปสู่ความเปราบางและ อาจสร้างภาระความเสี่ยงต่อฐานะการคลังในอนาคต • นโยบายของรัฐบาลประกอบทั้งด้านรายได้ การปรับโครงสร้างอัตราภาษีที่สำคัญ ได้แก่ • ภาษีเงินได้นิติบุคคล • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ฯลฯ • รวมทั้งการมีนโยบายด้านรายจ่ายอีกหลายประการ

  5. ความยั่งยืนทางการคลังความยั่งยืนทางการคลัง

  6. ฐานะการคลัง ที่มา: คำนวณจากข้อมูล สศค

  7. สัดส่วนแหล่งที่มาของรายได้รัฐบาลแต่ละประเภทสัดส่วนแหล่งที่มาของรายได้รัฐบาลแต่ละประเภท ปีงบประมาณ 2539-2556 สัดส่วนรายได้ภาษีต่อ GDP รายได้ต่อหัวประชากร และรายได้ต่อหัวผู้มีงานทำ เปรียบเทียบสัดส่วนรายได้รัฐบาลต่อ GDP

  8. เปรียบเทียบอัตราเพิ่มรายได้และรายจ่ายรัฐบาลเปรียบเทียบอัตราเพิ่มรายได้และรายจ่ายรัฐบาล ที่มา: คำนวณจากข้อมูล สศค

  9. หัวข้อการนำเสนอ • ที่มาของปัญหาความเสี่ยง และนิยามประเภทความเสี่ยง • โครงสร้างฐานะการคลังและความเสี่ยงการคลังในปัจจุบัน • ภาระความเปราะบางและความเสี่ยงการคลังในอนาคต • ข้อสรุปและเสนอแนะเชิงนโยบาย

  10. ที่มา: ประยุกต์จาก Polackova (1998) และข้อมูลจากสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (2556)

  11. ที่มา: คำนวณจากข้อมูล สศค

  12. หัวข้อการนำเสนอ • ที่มาของปัญหาความเสี่ยง และนิยามประเภทความเสี่ยง • โครงสร้างฐานะการคลังและความเสี่ยงการคลังในปัจจุบัน • ภาระความเปราะบางและความเสี่ยงการคลังในอนาคต • ข้อสรุปและเสนอแนะเชิงนโยบาย

  13. แนวทางการวิเคราะห์ • ภาพรวมยังยึดกรอบความยั่งยืนการคลังที่กำหนดโดยกระทรวงการคลัง เป็นพื้นฐานการวิเคราะห์ • ด้านความเปราะบางจากรายรับ • ประเมินความเปราะบางโดยเริ่มจากพิจารณาโครงสร้างรายรับของรัฐบาลจากอดีต ถึงปัจจุบัน โดยประมาณการายได้ภาษีหลักๆ ได้แก่ • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยการคำนวณจากโครงสร้างการจัดเก็บจาก ภ.ง.ด 90 และ 91 จากผู้ยื่นแบบเสียภาษีจริง โดยให้มีการหักลดหย่อนต่างๆ ได้ตามที่กฎหมายกำหนด ทั้งนี้ได้พิจารณาผลการปรับโครงสร้างภาษีที่ผ่านมาไว้ในการคำนวณ • ภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยประมาณการจากฐานบริษัทในตลาดหลักทรัพย์สินที่เสียภาษีนิติบุคคล โดยคำนวณจาก effective tax rate จากการเสียภาษี • ภาษี VAT ประมาณการจากฐานการบริโภคภายในประเทศ และการนำเข้าจากต่างประเทศ • ภาษีอื่นๆ ใช้การประมาณการจากฐาน GDP เป็นหลัก

  14. ผลการปรับโครงสร้างอัตราภาษีเงินได้ต่างๆ ในอนาคต ที่มา: คำนวณจากข้อมูล สศค

  15. การวิเคราะห์ • ด้านรายจ่าย • รวบรวมการใช้จ่ายของรัฐบาลทั้งที่อยู่ในงบประมาณ ที่ดำเนินการผ่านมา โดยประมาณการตามแนวโน้มการเพิ่มขึ้นในอดีต เช่น การเพิ่มของหมวดเงินเดือนค่าจ้างอยู่ที่ร้อยละ 6 ต่อปี และการปรับตามอัตราเงินเฟ้อ • สำหรับงบประมาณผูกพันที่อยู่นอกงบประมาณไม่นำมารวมในการวิเคราะห์ แต่ภาระหนี้ที่เกิดขึ้นจะนับเป็นภาระรายจ่ายหนึ่งในงบประมาณ เพื่อแสดงพันธะการใช้จ่ายของรัฐบาลในอนาคต ยกเว้นการกู้ยืม ภายใต้ พ.ร.บ. กู้ยืม 2 ล้านล้านบาท และ 3.5 แสนล้านบาท

  16. ภาระความเสี่ยงจากนโยบายรัฐบายต่อฐานะทางการคลังภาระความเสี่ยงจากนโยบายรัฐบายต่อฐานะทางการคลัง ที่มา: คำนวณจากข้อมูล สศค

  17. กรณีศึกษา • การประมาณการฐานะการคลังอนาคตที่ประกอบทั้งการประมาณการจากรายได้ และรายจ่ายทั้งหมด เพื่อหาดุลการคลัง และช่องว่างทางการคลังที่เหลือสุทธิ โดยวิธีการจากแบบจำลองทางการคลัง ที่แบ่งเป็นสามกรณี • กรณีฐาน รัฐบาลสามารถจัดทำงบประมาณสมดุลได้ในปี 2560 โดยมีอัตราขยายตัวเศรษฐกิจร้อยละ 7.5 อัตราเงินเฟ้อร้อยละ 2.5 • กรณีสูง อัตราขยายตัวเศรษฐกิจอยู่ที่ร้อยละ 7.5 อัตราเงินเฟ้อร้อยละ 2.5 และการลงทุน 3.5 แสนล้านบาท และ 2.0 ล้านล้านบาทสามารถดำเนินการได้ตามต้องการ • กรณีต่ำ อัตราขยายตัวเศรษฐกิจอยู่ที่ร้อยละ 6.5 อัตราเงินเฟ้อร้อยละ 2.5 และการลงทุน 3.5 แสนล้านบาท และ 2.0 ล้านล้านบาทสามารถดำเนินการได้ตามต้องการ

  18. กรณีนี้จะสมดุลได้โดย การจำกัดการขยายตัวรายจ่ายประจำขยายตัวไม่เกินที่ร้อยละ 6 ต่อปี รายจ่ายชำระเงินต้นไม่เกินร้อยละ 3 และดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 5.25 ของงบประมาณ มีการเพิ่มของรายได้รัฐบาลได้ตามเป้าหมาย การลงทุนของรัฐบาลและรับวิสาหกิจอยู่ในแนวโน้มที่เป็นอยู่ปัจจุบัน

  19. หัวข้อการนำเสนอ • ที่มาของปัญหาความเสี่ยง และนิยามประเภทความเสี่ยง • โครงสร้างฐานะการคลังและความเสี่ยงการคลังในปัจจุบัน • ภาระความเปราะบางและความเสี่ยงการคลังในอนาคต • ข้อสรุปและเสนอแนะเชิงนโยบาย

  20. ข้อสรุปสำคัญจากกรณีศึกษาข้อสรุปสำคัญจากกรณีศึกษา • ฐานะการคลังเกิดขึ้นทั้งจากปัญหา “เชิงโครงสร้างการคลัง” ที่ไม่ได้รับการพัฒนา และ “เชิงนโยบาย” • ภาระผูกพันทางการคลังทั้งที่อยู่ในงบประมาณและนอกงบประมาณยังสามารถรองรับได้ด้วยฐานะการคลังที่มีอยู่ในระยะสั้นและระยะกลาง แต่ในระยะยาวที่ต้องมีการนำผลขาดทุนการจำนำสินค้าเกษตรมารวมในระบบงบประมาณ จะมีผลต่อความเปราะบางทางการคลัง • แม้จะมีช่องว่างการคลังเหลือให้รัฐบาลใช้จ่ายได้ แต่แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายโดยเฉพาะรายจ่าย “เชิงนโยบาย” ส่งผลต่อความเปราะบาง และศักยภาพการบริหารความเสี่ยงการคลังในอนาคตได้ • การศึกษาเป็นเพียงระดับมหภาค จำเป็นต้องดูประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายในระดับจุลภาคประกอบด้วย

  21. ข้อเสนอแนะจากการศึกษาข้อเสนอแนะจากการศึกษา • แม้ภาระความเสี่ยงทางการคลังของประเทศยังสามารถรองรับภาระรายจ่ายที่เพิ่มมากขึ้นได้ แต่ต้องมีการจำกัดการเพิ่มของบประมาณเชิงนโยบาย “ประชานิยม” ที่ผูกพันงบประมาณให้น้อยลง เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและศักยภาพการบริหารความเสี่ยงของฐานะการคลัง • ต้องพยายามรักษาระดับการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับที่สูง เพราะมีผลต่อฐานะรายได้ และอาจมีความจำเป็นต้องพิจารณาปรับโครงสร้างภาษีทั้งระบบ (โดยเฉพาะภาษีมูลค่าเพิ่มในอนาคต) เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางการคลังที่มีแนวโน้มของช่องว่างการคลังลดน้อยลง • เร่งการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปีให้สะท้อนผลสำเร็จ (Performance) ในการแก้ไขปัญหาของประเทศอย่างแท้จริงของกระบวนการการจัดทำและการพิจารณา มากกว่าเป็นการพิจารณาเพียงขนาดของงบประมาณแต่ละปี • ต้องมีการรายงานการใช้จ่ายทั้งที่อยู่ในระบบงบประมาณและนอกระบบงบประมาณอย่างชัดเจน เพื่อทราบถึงความเปราะบาง และความเสี่ยงการคลังทั้งหมดได้อย่างชัดเจน

More Related