1 / 70

รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

การพัฒนาหลักสูตรและปฎิรูปการเรียนการสอน และ กระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integrated Learning). รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม. วิวัฒนาการอุดมศึกษาไทย. มหาวิทยาลัยไทยขยายตัวอย่างทวีคูณ หลากหลาย เงื่อนไขด้านคุณภาพมาตรฐาน และงบประมาณ

verne
Download Presentation

รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาหลักสูตรและปฎิรูปการเรียนการสอนการพัฒนาหลักสูตรและปฎิรูปการเรียนการสอน และ กระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integrated Learning) รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

  2. วิวัฒนาการอุดมศึกษาไทยวิวัฒนาการอุดมศึกษาไทย • มหาวิทยาลัยไทยขยายตัวอย่างทวีคูณ หลากหลาย • เงื่อนไขด้านคุณภาพมาตรฐาน และงบประมาณ • การบริหารจัดการ ระบบ กำลังคน และการเงินอุดมศึกษา • คุณภาพบัณฑิตไทยเชิงบูรณาการ • อุดมศึกษาไทยกับความเป็นสากล

  3. อุดมศึกษาไทยกับความเป็นสากลอุดมศึกษาไทยกับความเป็นสากล การกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจชัดเจน • การเรียนการสอนต้องเป็นกลไกหนึ่งในการส่งเสริมอุดมการณ์มหาวิทยาลัยและผลักดันให้มหาวิทยาลัยสู่เป้าพึงประสงค์ • การเรียนการสอนต้องมีเป้าหมายสูงกว่าการผลิตบัณฑิต การเสริมสร้างบัณฑิตที่ “คิดเป็น” • การสร้างหลักสูตรต้องมองให้ไกลกว่าการมีความรู้ไปทำงาน • มหาวิทยาลัย มิใช่ สถานประกอบอาชีพของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ • คนในมหาวิทยาลัยต้องมีอุดมการณ์ร่วมกัน

  4. อุดมศึกษาไทยกับความเป็นสากล (ต่อ) ระบบการเรียนการสอน • ต้องมองมากกว่า การจัดวิชาให้เรียน คำนึงการสร้างความหลากหลายในหลายมิติ เช่น • - ความสนใจและความพึงพอใจ (ฉันทะ)ของผู้เรียน • - การใช้หลายกลไกในการเรียนรู้เช่น การมีปฏิสัมพันธ์ การเรียนในสถานที่ จริง work-based/work place learning การ reflect สิ่งที่เรียนรู้ • หลักสูตรต้องให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนและสร้างบริบทของการเรียน • - สร้างประชาคม นศ. ที่ต่างวัฒนธรรม ต่างพื้นฐานเศรษฐกิจ สังคม • ต้องมีกลไกชักนำและสรรหานักเรียนที่มีความโดดเด่นมาเรียน

  5. อุดมศึกษาไทยกับความเป็นสากล (ต่อ) มุ่งสู่ความเป็นเลิศในการวิจัย การสร้างและใช้ความรู้ใหม่ • บูรณาการการเรียนกับการสร้างและใช้ความรู้ใหม่ • ให้ นศ. ทำสิ่งใหม่ สิ่งท้าทาย สร้างโจทย์เอง สร้างกระบวนการหาความรู้เอง • เน้นกระบวนการกลุ่ม (Teamwork, Group Learning, Group Dynamics) • กระตุ้นให้ นศ. คิดหรือสร้างความรู้ใหม่เรื่องนวัตกรรม/entrepreneurial • สร้างพันธมิตรในการวิจัย

  6. อุดมศึกษาไทยกับความเป็นสากล (ต่อ) การสร้างพันธมิตรและเครือข่าย • ไม่สอนหรือทำเองทุกเรื่องภายในมหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น (ทรัพยากรไม่พอ ขาดจุดเน้น) • มหาวิทยาลัยที่มีหลายวิทยาเขต ต้องหันหน้าทำงานร่วมกัน • มหาวิทยาลัยพื้นที่เดียวกัน สร้างความร่วมมือกัน • มหาวิทยาลัยที่มีความสนใจร่วมกัน สร้างความร่วมมือกัน • มหาวิทยาลัยสามารถร่วมอุดมการณ์กันได้

  7. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการศึกษา ปัจจัยภายใน • การปรับโครงสร้างการศึกษา • การเพิ่มขึ้นของสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน • การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาอย่างกว้างขวาง • การเติบโตอย่างก้าวกระโดดของมหาวิทยาลัยเอกชน • การเกิดขึ้นของโครงการเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (ICL) • การประสานงานกับภาคเอกชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนเงินทุนแก่สถานศึกษา

  8. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการศึกษา (ต่อ) ปัจจัยภายนอก • การเปิดเสรีทางการค้า ชักนำสถาบันการศึกษาต่างประเทศมาตั้งสถานศึกษาในไทย • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดการเรียนทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ต เกิด E-Learning • การส่งออกการศึกษาของประเทศที่มีความพร้อมเช่น ออสเตรเลีย • การให้ความสำคัญกับคุณภาพทางการศึกษา มีการตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพทางการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

  9. วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม มหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  10. การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการสร้างหลักสูตร 1. วิเคราะห์-วิจัยข้อมูลพื้นฐาน 2. ปรัชญา-จิตวิทยาการเรียนรู้ 3. วิเคราะห์องค์ประกอบหลักสูตร 4. ออกแบบและจัดการหลักสูตร 5. วิเคราะห์คุณภาพหลักสูตร 6. การทดลองใช้หลักสูตร

  11. องค์ประกอบหลักสูตร 1. คำอธิบายรายวิชา 2. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 3. เนื้อหาการเรียนรู้ 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 5. สื่อ กิจกรรมการเรียนการสอน 6. การวัดและประเมินผล 7. เอกสารประกอบการสอน

  12. หลักเกณฑ์การพัฒนาหลักสูตรหลักเกณฑ์การพัฒนาหลักสูตร พึงยึดหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ 1. ความเป็นคนที่สมบูรณ์ 2. ความเป็นผู้นำทางวิชาการ 3. ทักษะในการทำวิจัย (โดยเฉพาะหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา) 4. ความรอบรู้และการบูรณาการความรู้ 5. ทักษะในการประกอบอาชีพ

  13. จุดเน้น 1. หลักสูตร 2. วิธีสอน 3. สื่อสนับสนุนการสอน 4. การวัดผล การพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์

  14. ปรัชญา: มีเป้าหมายที่ชัดเจน (บัณฑิตแบบไหน) วัตถุประสงค์ : บอกได้ว่าบัณฑิตทำอะไรได้บ้าง เนื้อหาหลักสูตร : ผสมผสานกันระหว่างทฤษฎีและปฏิบัติ ผลผลิตของหลักสูตร : - มีประโยชน์ต่อการทำงานมากหรือน้อยอย่างไร - มีทักษะในการทำงานหรือไม่ หลักสูตรควรเป็นอย่างไร

  15.  กลุ่มที่สร้าง Concept เช่น ทฤษฎี นิยาม ฯลฯ  กลุ่มที่ต้องฝึกปฏิบัติจนเกิดทักษะจนคำนวณหาค่าได้  กลุ่มเนื้อหาวิชาที่นำไปประยุกต์ - ใช้ในชีวิตประจำวัน - ใช้ในงานอาชีพ เนื้อหาหลักสูตร

  16. เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอดของแต่ละเนื้อหาวิชาเน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอดของแต่ละเนื้อหาวิชา • เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในการคิดคำนวณ • เน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา • Discovery Learning สอนแบบสืบเสาะหาความรู้จากการปฏิบัติ เชื่อมโยงความรู้เดิม • Transfer Learning เรียนจากการกระทำจริง • - เลียนแบบโจทย์ตัวอย่าง • - ยากกว่าตัวอย่าง • Problem Solving and Creativity เชื่อมโยงความรู้จากนิยาม ทฤษฎี • ไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบการสอนที่เน้นการแก้ปัญหา และความคิด • สร้างสรรค์ วิธีสอน (Implement หลักสูตร)

  17. เน้นการใช้เทคโนโลยีช่วยสอนเน้นการใช้เทคโนโลยีช่วยสอน • เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง (ศึกษาได้ / ปฏิบัติได้ด้วย ตนเอง) • เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ แนวทาง • จัดห้อง Self Access • จัดโปรแกรมช่วยสอน สื่อสนับสนุนการสอน

  18. การปฏิรูปการเรียนการสอนการปฏิรูปการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผู้สอน (Instructor) ผู้เอื้อ ผู้คอยอำนวยความสะดวก (Facilitator) ผู้ที่ให้คำปรึกษาแนะนำ (Advisor) ผู้ป้อนให้ความรู้ (Feeder) รูปแบบการเรียนการสอนที่ช่วยให้คนคิดเป็น วิเคราะห์เป็น และประยุกต์ใช้เป็น

  19. จะต้องประเมิน : • ความรู้ในหลักการทั่วไป • ความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติ • ความสามารถในการปฏิบัติ การวัดและประเมินผล

  20. บัณฑิตนักปฏิบัติ มีคุณภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรม  คิดดี  ทำดี  พูดดี  รับผิดชอบดี มีความพร้อมด้านวุฒิภาวะ รู้จริง ทำเป็น  วางแผน  วิเคราะห์  แก้ปัญหา  พัฒนา ลงมือปฏิบัติงานได้  สำนักงาน  ห้องปฏิบัติการ  โรงงาน ภาคสนาม ผลิตผลของการจัดการเรียนการสอน

  21. ความรู้ (Knowledge) • ทักษะการคิด (Cognitive skills) • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) • ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร (Analytical and Communication Skills) • การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม (Ethical and Moral Development) กรอบแนวคิดคุณลักษณะบัณฑิต ที่มา : ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เสนอ สกอ.

  22. หลักสูตรทันสมัย มีความเป็นเลิศ หลากหลาย ยืดหยุ่น สอดคล้องตามความต้องการของสังคม การบริหารวิชาการที่มีคุณภาพ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการวางแผน การผลิตบัณฑิต การรับนักศึกษา การจัดการเรียนการสอน จัดกิจกรรมหลักสูตร การประเมินผลการเรียนรู้ การพัฒนาปรับปรุงบริหารวิชาการ มาตรฐานหลักสูตร การเรียนการสอน การบริหารวิชาการ

  23. ครู วิธีสอน การประเมิน ผู้เรียน วัตถุประสงค์ สื่อการสอน หลักสูตร องค์ประกอบของการสอน

  24. ก่อนการสอน หลังการสอน ขณะสอน - พิจารณาผลการเรียน การสอน บรรลุจุด- ประสงค์หรือไม่ - ปรับปรุงแก้ไข • - ดำเนินการสอน • ตามแผนการสอน • - ใช้ทักษะการสอน • เหมาะสม • ใช้เทคนิควิธีสอน • ใช้สื่อ • ใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ • สร้างบรรยากาศ • วัดผล ประเมินผล • สอดคล้องจุดประสงค์ • - ศึกษาหลักสูตร คู่มือ • เอกสารประกอบ- • การสอน • ศึกษาผู้เรียน • เขียนแผนการสอน หลักพื้นฐานในการสอน

  25. กระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการกระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (Integrated Learning) กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ เป็นรูปแบบการเรียนการสอนวิธีหนึ่ง ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และเป็นการเรียนรู้ที่อาศัยความเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ เพื่อจะได้นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ทั้งในด้านความรู้ทักษะ กระบวนการเรียนรู้ และคุณธรรม

  26. อัตลักษณ์ (Character) อัตลักษณ์ คือ - ความพยายามที่จะสร้างขอบเขตที่ชัดเจนของบุคคลว่า “เราเป็นใครและแตกต่างจากคนอื่นตรงไหน” - ลักษณะเฉพาะตัว ภาพลักษณ์ของแต่ละคน มุมมองที่ เรามองตัวเราเองว่า เราคือใคร และอยากให้คนอื่นเห็น เราแบบไหน

  27. การเรียนรู้ที่ดี จึงควรมีลักษณะเป็นองค์รวมไม่ใช่เป็นแท่งหรือเป็นท่อนที่แยกจากกัน ซึ่งทำให้การเรียนรู้ไม่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันกับความเป็นจริงในชีวิต ในธรรมชาติและชีวิตจริง ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนมีความสัมพันธ์กัน การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integration) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 24 (4) กำหนดให้จัดกระบวนการเรียนรู้โดย “...ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม... ”

  28. ความหมายการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการความหมายการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การบูรณาการหมายถึง การทำให้สมบูรณ์ เป็นการทำหน่วยย่อยๆ ที่สัมพันธ์กันให้ผสมกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียว และครบสมบูรณ์ในตัวเอง การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง การจัดประสบการณ์การ-เรียนรู้ที่เชื่อมโยงหัวข้อ หรือเนื้อหาสาขาวิชาต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้แบบองค์รวม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

  29. 1. การขยายตัวของความรู้ เช่น สิ่งแวดล้อม เอดส์ ฯลฯ 2. หลักสูตรปัจจุบันไม่เหมือนในชีวิตจริง นักศึกษาต้องเห็นความสำคัญ ของวิชาที่เชื่อมโยงกัน 3. สถานศึกษาจะต้องฝึกให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการสิ่งที่เรียนกับชีวิตจริง ได้ 4. ไม่มีหลักสูตรวิชาใดวิชาเดียวที่สามารถนำไปแก้ปัญหาทุกอย่างที่เกิดใน ชีวิตจริง 5. วิชาการหรือแนวคิดที่ใกล้เคียงกันหรือเกี่ยวข้องกัน ควรนำมาเชื่อมโยง กัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย ทำไมจึงต้องบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอน

  30. วัตถุประสงค์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการวัตถุประสงค์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้แบบองค์รวมที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันจากหลาก- หลายสาขาวิชา 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ทักษะกระบวนการกลุ่ม ทักษะการคิด การแก้ปัญหา การอภิปราย การสรุป เป็นต้น 3. เพื่อส่งเสริมความสามารถของผู้เรียนที่มีแตกต่างกันในด้านต่างๆ ที่เรียกว่า พหุปัญญา (Multiple Intelligence) 4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

  31. แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. หลักสูตรบูรณาการ (Curriculum integration) 2. การบูรณาการการเรียนการสอน (Instruction integration) ประเภทของบูรณาการในการศึกษา

  32. ประเภทที่ 1 : หลักสูตรบูรณาการ (Curriculum integration) หลักสูตรบูรณาการ หมายถึง หลักสูตรที่มีการผสมผสานเนื้อหาตั้งแต่สองวิชาขึ้นไป หรือผสมผสานเนื้อหาในหัวข้อต่างๆ ที่จัดอยู่ในวิชาหรือกลุ่มรายวิชาในสาขาเดียวกัน โดยจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ภายใต้หัวเรื่อง (theme)เดียวกันอย่างสมดุล หัวเรื่อง (theme) เป็นจุดรวมหรือจุดกลางของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องซึ่งอาจมาจากสาขาต่างๆ ในวิชาเดียวกัน หรือได้จากหลายศาสตร์หรือหลายวิชาที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรบูรณาการต้องทำก่อนการจัดการเรียนการสอน

  33. ประเภทที่ 1 : หลักสูตรบูรณาการ (Curriculum integration) (ต่อ) ในการบูรณาการเนื้อหาวิชา อาจทำได้ 2 ลักษณะ 1.1. บูรณาการภายในกลุ่มหัวข้อของรายวิชา (intradisciplinary integration) ผสมผสานเนื้อหาระหว่างหัวข้อต่างๆ ภายในกลุ่ม อยู่ภายใต้หัวเรื่อง (theme) มโนทัศน์ (concept) หรือปัญหา (problem) ผลการบูรณาการภายใต้หัวเรื่องจะได้หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการภายในกลุ่มหัวข้อรายวิชา

  34. ประเภทที่ 1 : หลักสูตรบูรณาการ (Curriculum integration) (ต่อ) 1.2. บูรณาการระหว่างกลุ่มหัวข้อการเรียน (interdisciplinary integration หรือ acrosscurriculum) ผสมผสานเนื้อหาระหว่างวิชาหรือระหว่างศาสตร์ หรือระหว่าง กลุ่มหัวข้อตั้งแต่ 2 วิชาขึ้นไป อยู่ภายใต้หัวเรื่อง (theme) มโนทัศน์ (concept) หรือปัญหา (problem) เดียวกัน ผลการบูรณาการภายใต้หัวเรื่องจะได้หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการข้ามวิชา/ข้ามกลุ่มหัวข้อ/ข้ามศาสตร์ หรือ หน่วยการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ

  35. หัวข้อที่ สอน เทคนิค- การสอน กระบวน- การสอน หัวข้อ- ความรู้อื่น คุณธรรม จริยธรรม วิธีสอน ประเภทที่ 2 : การบูรณาการการเรียนการสอน (Instruction integration) การบูรณาการการเรียนการสอน หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หรือปัญหาที่สงสัยด้วยการผสมผสานเนื้อหาสาระ กระบวนการ วิธีสอน เทคนิคที่เน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติด้วยการสอดแทรกความรู้อื่นๆ และคุณธรรม จริยธรรมอย่างเหมาะสม เกิดความสมบูรณ์อย่างสมดุล

  36. ประเภทที่ 2 : การบูรณาการการเรียนการสอน (Instruction integration) (ต่อ) รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ มีหลายแบบ 2.1. การบูรณาการแบบสอดแทรกหรือแบบผู้สอนคนเดียว (infusion) สอดแทรกเนื้อหาการเรียนรู้อื่นๆ ในการสอน ใช้ผู้สอน 1 คน

  37. ตัวอย่างการบูรณาการแบบสอดแทรกหรือแบบผู้สอนคนเดียวตัวอย่างการบูรณาการแบบสอดแทรกหรือแบบผู้สอนคนเดียว ผู้สอนเชื่อมโยงเนื้อหาการเรียนรู้ต่างๆ กับหัวข้อเรื่องที่สอดคล้องกับชีวิตจริงหรือเนื้อหาที่กำหนดขึ้นมา เช่น เรื่องสิ่งแวดล้อม เรื่องน้ำ สิ่งแวดล้อม น้ำ เนื้อหาการเรียนรู้ การตรวจสอบ

  38. ตัวอย่างการบูรณาการแบบสอดแทรกหรือแบบผู้สอนคนเดียว (ต่อ) ผู้สอนเชื่อมโยงเนื้อหาและกระบวนการเรียนรู้ของกลุ่มหัวข้อต่างๆ การเขียนอธิบาย การคิดคำนวณ เนื้อหาการเรียนรู้ การสรุป การคิดวิเคราะห์

  39. ประเภทที่ 2 : การบูรณาการการเรียนการสอน (Instruction integration) (ต่อ) 2.2. การบูรณาการแบบคู่ขนาน (parallel instruction) สอนด้วยครู 2 คนขึ้นไป 2 กลุ่มหัวข้อการเรียนรู้ขึ้นไป

  40. ตัวอย่างการบูรณาการแบบคู่ขนานตัวอย่างการบูรณาการแบบคู่ขนาน มีผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ยึดหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วบูรณาการเชื่อมโยงแบบคู่ขนาน สอนเรื่องเงา ผู้สอนฟิสิกส์ ความเชื่อมโยง สอนเรื่องการวัดระยะทางจากเงาโดยการคำนวณ ผู้สอนคณิตศาสตร์

  41. ตัวอย่างการบูรณาการแบบคู่ขนาน (ต่อ) สอนเรื่องโครงสร้างโมเลกุลและชนิดของคาร์โบไฮเดรต ผู้สอนเคมีอินทรีย์ ความเชื่อมโยง สอนเรื่อง metabolism ของคาร์โบไฮเดรต ผู้สอนชีวเคมี ความเชื่อมโยง ความเชื่อมโยง สอนเรื่องการทดสอบคาร์โบไฮเดรต ผู้สอนปฏิบัติการชีวเคมี

  42. ตัวอย่างการบูรณาการแบบคู่ขนาน (ต่อ) สอนเรื่องแบบจำลองอะตอม ผู้สอนเคมีอนินทรีย์ ความเชื่อมโยง สอนเรื่องทฤษฎีควอนตัมของอะตอม ผู้สอนเคมีฟิสิกัล ความเชื่อมโยง ความเชื่อมโยง สอนเรื่องออร์บิตอลของอะตอมและโมเลกุล ผู้สอนเคมีอินทรีย์

  43. ประเภทที่ 2 : การบูรณาการการเรียนการสอน (Instruction integration) (ต่อ) 2.3. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (multidisciplinary instruction) เชื่อมโยงหัวข้อการเรียนรู้ต่างๆ แล้วต่างคนต่างสอนตาม กลุ่มหัวข้อของตน ใช้ผู้สอน 2 คนขึ้นไป

  44. ตัวอย่างการบูรณาการแบบสหวิทยาการตัวอย่างการบูรณาการแบบสหวิทยาการ นำเนื้อหาจากหลายกลุ่มหัวข้อมาเชื่อมโยงเพื่อจัดการเรียนรู้ โดยทั่วผู้สอนมักจัดการเรียนแยกตามรายวิชาหรือกลุ่มวิชา แต่ในบางเรื่อง ผู้สอนจัดการเรียนการสอนร่วมกันในเรื่องเดียวกัน วิชาคณิตศาสตร์ สอนทฤษฎีการคำนวณที่มี ใน Excel วิชาความรู้พื้นฐานในคอมพิวเตอร์ สอนการใช้โปรแกรม Excel เรื่องการคำนวณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ วิชาเคมีคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ สอนการคำนวณทางเคมีด้วย โปรแกรมExcel

  45. วิชาเคมี สอนองค์ประกอบเคมี ในพืชพลังงาน ทางเลือก วิชาฟิสิกส์ สอนสสาร วัสดุที่เป็น พลังงานทางเลือก เรื่อง พลังงาน ทางเลือก วิชาปัญหาพิเศษ สอนนาโนเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาพลังงาน ทางเลือก วิชาชีววิทยา สอนสัณฐานพืชน้ำมัน แหล่งพลังงาน ทางเลือก ตัวอย่างการบูรณาการแบบสหวิทยาการ (ต่อ)

  46. ประเภทที่ 2 : การบูรณาการการเรียนการสอน (Instruction integration) (ต่อ) 2.4. การบูรณาการแบบคณะหรือแบบโครงการ (multidisciplinary instruction) ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือ สร้างหน่วยเรียนรู้บูรณาการ ใช้ผู้สอน 2 คนขึ้นไป

  47. 2.4. การบูรณาการแบบเป็นคณะหรือแบบโครงการ ผู้สอนจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเป็นโครงการ นักศึกษาและอาจารย์ผู้สอนร่วมกันสร้างสรรค์โครงการ ใช้เวลาการเรียนต่อเนื่องหลายชั่วโมง สอนเป็นทีม เรียนเป็นทีม ในกรณีที่ต้องการเน้นทักษะพิเศษ อาจารย์สามารถแยกสอนได้ ตัวอย่างเช่น กิจกรรมเข้าค่ายอนุกรมวิธาน กิจกรรมเข้าค่ายเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  48. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ - นิยมแบบสหวิทยาการ - นำเนื้อหาจากหลายกลุ่มหัวข้อมาเชื่อมโยงกัน ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างสัมพันธ์ สอดคล้องกันในแต่ละวิชา

  49. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสหวิทยาการขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสหวิทยาการ มีขั้นตอนดังนี้ 1. กำหนดหัวเรื่อง (Theme) ที่จะใช้เป็นแกนในการบูรณาการ เป็นเรื่องที่... - ผู้เรียนสนใจ มีโอกาสได้เลือกเรียน - สามารถโยงความสัมพันธ์ได้หลายวิชาหรือหลายกลุ่มประสบการณ์ - ผู้เรียนมีประสบการณ์เดิม สอดคล้องกับชีวิตจริง มีความหมายต่อผู้เรียน - มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าได้หลากหลาย - เหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรียน - ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน

  50. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสหวิทยาการ (ต่อ) 2. ตั้งชื่อเรื่อง - ให้มีความน่าสนใจ - กระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเรียน 3. จัดทำแผนผังความคิด - โดยใช้หัวเรื่องเป็นแกน - เชื่อมโยงไปยังวิชาอื่นเท่าที่จะเชื่อมโยงได้ 4. วางแผนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ - ในแต่ละวิชาอย่างเหมาะสมและสัมพันธ์กัน 5. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ - เขียนตามหลักการเขียนแผนให้ชัดเจน

More Related