180 likes | 322 Views
ผลิตสินค้าอย่างไร : จึงจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรของอาเซียน. กุมภาพันธ์ 2556. หัวข้อสำคัญของระบบสิทธิพิเศษ ทางการค้าของอาเซียน. รายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ ในการลดหรือยกเว้นภาษีขาเข้า. การตรวจคุณสมบัติ ถิ่นกำเนิดสินค้า. กฎถิ่นกำเนิดสินค้า.
E N D
ผลิตสินค้าอย่างไร : จึงจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรของอาเซียน กุมภาพันธ์ 2556
หัวข้อสำคัญของระบบสิทธิพิเศษ ทางการค้าของอาเซียน รายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ ในการลดหรือยกเว้นภาษีขาเข้า การตรวจคุณสมบัติ ถิ่นกำเนิดสินค้า กฎถิ่นกำเนิดสินค้า เอกสารหลักฐานที่ใช้ในการขอรับสิทธิ ๏หนังสือรับรอง FORM D ๏ SELF-CERTIFICATION 2 2
สรุปหลักเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าภายใต้สิทธิพิเศษฯสรุปหลักเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้าภายใต้สิทธิพิเศษฯ สินค้าที่เป็น “ผลผลิตทั้งหมด” หรือ “ได้มาทั้งหมด” จากในประเทศ (WHOLLY PRODUCE / WHOLLY OBTAINED : WO) สินค้าที่มีการใช้วัตถุดิบนำเข้าต้องได้รับ “การแปรสภาพอย่างเพียงพอ” ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดศุลกากรระหว่าง “วัตถุดิบนำเข้า” กับ “สินค้าที่ส่งออก” หลักเกณฑ์ “สัดส่วนของต้นทุน” และ “มูลค่าเพิ่มของการผลิต” ในประเทศ หลักเกณฑ์ “กระบวนการผลิต”ของสินค้า 3
ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดฯ ของ ASEANการเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 2 หลัก(CHANGE OF CHAPTER – CC) วัตถุดิบนำเข้า หนังโคฟอก (HS 41XXXX) ห่วงโลหะ (HS 83XXXX) ซิบไนล่อน (HS 96XXXX) สินค้าส่งออก กระเป๋าหนัง (HS 42XXXX) 4
ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดฯ ของ ASEANการเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 4 หลัก(CHANGE OF TARIFF HEADING – CTH) วัตถุดิบนำเข้า ทราย (HS 2505XX) เศษแก้ว (HS 7001XX) โซดาแอช (HS 2836XX) หินปูน (HS 2521XXXX) สินค้าส่งออก เครื่องแก้ว (HS 7013XX) 5
ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดฯ ของ ASEANการเปลี่ยนพิกัดฯ ในระดับ 6 หลัก(CHANGE OF TARIFF SUB-HEADING – CTSH) วัตถุดิบนำเข้า ไม้ที่เลื่อยแล้ว (HS 4407.29) น้ำยาเคลือบเงา (HS 3209.90) ตะปู(HS 7317.00) ส่วนประกอบ (HS 9403.90) สินค้าส่งออก เฟอร์นิเจอร์ไม้ (HS 9403.60) 6
ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์ “ มูลค่าเพิ่มของการผลิต” ของ ASEAN สินค้า “ส่วนประกอบและอุปกรณ์ของยานยนต์” (HS 8708) หลักเกณฑ์ : สัดส่วนของต้นทุนและมูลค่าการผลิตใน ประเทศภาคี (REGIONAL VALUE CONTENT:RVC) ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 40 ของราคาสินค้า F.O.B.
ตัวอย่างการใช้หลักเกณฑ์ “กระบวนการผลิต” ของ ASEAN(SPECIFIC PROCESS : SP) สินค้าสิ่งทอหลักเกณฑ์ • เครื่องแต่งกาย/เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตโดยผ่านกระบวน (พิกัดฯ ตอนที่ 61 และ 62) การตัด (CUTTING) และ ประกอบ (ASSEMBLY) ชิ้นส่วนเข้าด้วยกัน จาก “ผ้าผืน”
3. ORIGIN CRITERIA (b) Goods satisfying Aritcles 28 (Non – wholly obtained) of the ATIGA : Regional ValueContentPercentage of Regional Value Content, example “40%” : Change in Tariff Classification The actual CTC rule, example “CC” or “CTH” or “CTSH” : Specific Processes“SP” : Combination Criteria The actual combination criterion, example “CTSH + 35%”
วิธีการยื่นคำขอรับการตรวจคุณสมบัติฯวิธีการยื่นคำขอรับการตรวจคุณสมบัติฯ Manual Internet ยื่นแบบขอรับการตรวจคุณสมบัติของสินค้า ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส ขอรับ USERNAME/PASSWORD บันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ บันทึกข้อมูลลงในระบบคอมพิวเตอร์ พิมพ์คำรับรองข้อมูลจากระบบ เจ้าหน้าที่รับรองผลการตรวจสอบ
สิ่งสำคัญที่ใช้ประกอบการพิจารณาถิ่นกำเนิดสินค้าสิ่งสำคัญที่ใช้ประกอบการพิจารณาถิ่นกำเนิดสินค้า รายละเอียดการใช้วัตถุดิบ รายการวัตถุดิบ แหล่งที่มา/ถิ่นกำเนิดของวัตถุดิบ พิกัดศุลกากรของวัตถุดิบนำเข้า ต้นทุนวัตถุดิบ การผลิต รายละเอียดกระบวนการผลิต/ขั้นตอนการผลิต ต้นทุนการผลิต ราคาสินค้า ที่ใช้ใน การผลิต สินค้า 1 หน่วย
วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วน ภายในประเทศ • วัตถุดิบ ผลิตขึ้นภายในประเทศ และ ผลิตถูกต้องตามหลักเกณฑ์ถิ่นกำเนิดของประเทศ ผู้ให้สิทธิฯ หรือข้อตกลงฯ กำหนดไว้ ใช้ราคาซื้อขาย ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) • วัตถุดิบที่ใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม (ACCUMULATION) กรณีใช้สิทธิ ATIGA ของ ASEAN FORM D กรณีใช้สิทธิ FTA นำเข้าจากประเทศคู่ภาคี หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ที่ออกภายใต้ข้อตกลงของแต่ละ FTA
วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วนนำเข้าวัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วนนำเข้า • นำเข้าจากต่างประเทศ ใช้ราคา C.I.F. ในการคำนวณต้นทุน • ซื้อในประเทศจากผู้นำเข้า หรือ ไม่ทราบแหล่งที่มา • ซื้อในประเทศแต่ผลิตไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ใช้ราคาตาม Invoice ที่ซื้อขายจริง
ต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายอื่นๆต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายอื่นๆ • ค่าแรง/เงินเดือนพนักงาน รวมทั้งสวัสดิการแรงงาน • ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร/โรงงาน • ค่าบำรุงรักษา • ค่าประกันภัย • ค่าดอกเบี้ย • ค่าน้ำ/ค่าไฟฟ้า/ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง • ค่าออกแบบผลิตภัณฑ์ • ค่าตรวจสอบ • ค่าใช้จ่ายในการอบรมพนักงาน • ค่าจ้างในการบริหาร • ค่าขนส่งวัตถุดิบ ฯลฯ
กำไรของสินค้า ค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการขนส่งสินค้า จากโรงงานไปยังท่าเรือ หรือ ด่านพรมแดน หรือ ท่าอากาศยาน ที่จะส่งออก
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาสินค้า 1. วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วนในประเทศ 2. วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วนนำเข้า 3. ต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 4. กำไร 5. ราคาสินค้าหน้าโรงงาน (1+2+3+4) 6. ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าเพื่อการส่งออก 7. ราคาสินค้า F.O.B. (5+6)
ขอบคุณค่ะ กรมการค้าต่างประเทศ 0-2547-4809, 0-2547-5090 www.dft.go.th