1 / 11

การสร้างแบบทดสอบ

การสร้างแบบทดสอบ. อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ. การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint หรือ Test Specification)

verena
Download Presentation

การสร้างแบบทดสอบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ • การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ • การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ(Test Blueprint หรือ Test Specification) • ทบทวนจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง(Learning Objective / Learning Out come) • เขียนข้อสอบ (Item Writing)(โดยเขียนข้อสอบให้วัดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ Objective-based) • ทบทวน ตรวจทานความถูกต้อง เหมาะสมของข้อสอบ(Review) และปรับปรุงข้อสอบ

  3. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ(ต่อ)ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ(ต่อ) • จัดเรียง / จัดชุด แบบทดสอบ • จัดพิมพ์ / อัดสำเนา และ เย็บชุด/เล่ม แบบทดสอบ แล้วบรรจุ ซอง / กล่อง แบบทดสอบ เพื่อส่งไปยังสนามสอบ • ดำเนินการสอบ • ตรวจคำตอบเพื่อให้คะแนนผลการสอบ • นำผลการสอบของนักศึกษามาทำการวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ (ค่า p, ค่า r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ (K-R 20) • เก็บข้อสอบที่ดีๆ ไว้ในคลังข้อสอบ (Item Bank) และปรับปรุงข้อสอบที่ยังไม่เข้าเกณฑ์ข้อสอบที่ดี เก็บไว้เพื่อนำไปใช้ในโอกาสต่อไป

  4. การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ รายวิชา ................................................. เพื่อวัดความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย ของนักศึกษา ใน รายวิชา ......................................................... จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว บ่งชี้ว่าแบบทดสอบที่สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบปลายภาค (Final Test) ที่วัดประเมิน เพื่อสรุปผลการเรียน หรือ เพื่อประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เพื่อนำคะแนนผลการสอบ ไปรวมกับคะแนนระหว่างภาค เพื่อตัดสินผลการเรียน ในรายวิชาดังกล่าว ลักษณะของแบบทดสอบ • ครอบคลุมหัวข้อเนื้อหา / จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ที่สำคัญๆ • วัดครอบคลุมความสามารถ (ด้านพุทธิพิสัย) ที่ซับซ้อน หรือ ความคิดระดับสูง • เป็นแบบ MCQ

  5. 1………….. 1 5 10 2………….. 2 15 3………….. 3 5 4………….. 1 5 5………….. 1 20 6………….. 4 7………….. 2 10 20 8………….. 4 5 9………….. 1 5 10…………. 1 รวม 20 การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Specification)(ตาราง 2 ทางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหัวข้อเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย) หัวข้อเนื้อหา จำนวน ความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์ การวิเคราะห์ ประเมินค่า คิดสร้างสรรค์ รวม คาบ Rem Und App Ana Eva Cre 10 30 30 20 10 -- 100

  6. ตารางโครงสร้างแบบทดสอบปลายภาค วิชา 230 303 การวัดและประเมินผลการศึกษา

  7. กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ

  8. กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ

  9. การเขียนข้อสอบ รายวิชา ......................................... ชั้นปีที่ ......................................... หัวข้อเนื้อหา ......................................... ระดับความสามารถ ......................................... แบบเขียนข้อสอบ จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง.......................................................................................................... ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ข้อสอบ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ เฉลยคำตอบ..........................................................................................................

  10. รายวิชา 230 303 ชั้นปีที่ 3 หัวข้อเนื้อหา การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย ระดับความสามารถ วิเคราะห์ การเขียนข้อสอบ แบบเขียนข้อสอบ จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่องของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ คำแนะนำในการสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ 1) ตอนนำ (stem) ของข้อสอบอาจจะใช้เป็น “คำถาม” หรือ “ประโยค” ที่ไม่สมบูรณ์ ก็ได้ แต่ต้องได้ใจความชัดเจน 2) ตัวเลือกทุกข้อต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ “ตอนนำ” 3) ตัวลวงทุกตัวมีความเป็นไปได้ และน่าจะถูกเลือกโดยผู้เรียนที่เรียนอ่อน ข้อสอบ จงพิจารณาข้อสอบต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 1-2 จังหวัดเชียงใหม่ ก. เป็นที่ราบเชิงเขา ข. อากาศหนาวเย็น ค. ปลูกลำไยมาก ง. ประชาชนมีความงามทั้งกายและใจ 1. ข้อสอบมีจุดบกพร่องในเรื่องใด เด่นชัดที่สุด ? (1) ประเด็นที่ถามไม่ชัดเจน (2) ตัวถูก ไม่ได้ถูกต้องตามหลักวิชา (3) ตัวเลือก บางข้อ ไม่สอดคล้องกับ “ตอนนำ” (4) “ตอนนำ” เป็นประโยคที่ไม่สมบูรณ์ เฉลยคำตอบ(1)

  11. จบการ นำเสนอ เวลาสำหรับการซักถาม และร่วม อภิปราย

More Related