1 / 33

แนวโน้มและโอกาส ของความร่วมมือ ในการป้องกันควบคุมโรค

แนวโน้มและโอกาส ของความร่วมมือ ในการป้องกันควบคุมโรค. ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 13 มีนาคม 2557. Thailand NCDs Death (2009). Ischemic heart disease = 34,384 Stroke = 50,829 Cancer = 80,711 COPD = 18,660 DM = 26,380 Total major NCDs = 210,963 Total death = 415,900

vera
Download Presentation

แนวโน้มและโอกาส ของความร่วมมือ ในการป้องกันควบคุมโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวโน้มและโอกาสของความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรคแนวโน้มและโอกาสของความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรค ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ วันที่ 13 มีนาคม 2557

  2. Thailand NCDs Death (2009) Ischemic heart disease = 34,384 Stroke = 50,829 Cancer = 80,711 COPD = 18,660 DM = 26,380 Total major NCDs = 210,963 Total death = 415,900 Death from NCDs = 50.7% Death from NCDs before 60 yrs old = 27% Health promotion fund is more important than ever

  3. Big picture: How it fits together4 risk factors, 4 noncommunicable diseases, 2 conditions Cancer Chronic respiratory diseases Diabetes Noncommunicable Diseases and Conditions Mental disorders Cardiovascular disease Injuries Riskfactors Physical inactivity Harmful use of alcohol Unhealthy diets Tobacco

  4. % of DALYs คือ ร้อยละของภาระโรคที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่ศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับภาระโรครวมทั้งหมดในปี พ.ศ.2552 ร้อยละของภาระโรคที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่ศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับภาระโรครวมทั้งหมดในปี พ.ศ.2552

  5. ปัจจัยที่กำหนดสุขภาพของคนปัจจัยที่กำหนดสุขภาพของคน พันธุกรรม ระบบบริการสธ. • รพ. - สอ. สุขภาพ - คลินิก วิถีชีวิต(Life style) สิ่งแวดล้อม • บ้าน , ชุมชน - ไม่ออกกำลังกาย - เมือง , ที่ทำงาน - สุรา ยาสูบ เครียด Marc Lalonde1974

  6. Global Health 2035. Lancet Dec.3, 2013

  7. กฎบัตรออตตาวา (พ.ศ.2529) กลยุทธ์ 5 ประการในการสร้างเสริมสุขภาพ • สร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ (Build health public policy) • สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Create supportive environment) • สร้างเสริมกิจกรรมชุมชนให้เข็มแข็ง (Strengthen community action) • พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop personal skills) • ปรับเปลี่ยนบริการสุภาพ (Reorient health services)

  8. Population groups according to health status สูบบุหรี่ ดื่มสุรา • Health Promotion : • population base • Build healthy public policy • Create supportive environment • ฯลฯ Healthcare system : individual base

  9. ปัญหาสุขภาพเสื่อมของคนไทยปัญหาสุขภาพเสื่อมของคนไทย • ส่วนใหญ่เป็นโรคที่ป้องกันได้ • เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่เกิดจากเชื้อโรค • โรคเหล่านี้เมื่อเป็นแล้วรักษายาก / ค่ารักษาแพงและไม่หาย • วิทยากรด้านการแพทย์ การรักษาพยาบาลพัฒนาเกือบถึงขีดสุดแล้ว

  10. การแก้ปัญหาสุขภาพของคนไทยการแก้ปัญหาสุขภาพของคนไทย • ไม่สามารถแก้โดยเพียงเพิ่มขีดความสามารถของการรักษาพยาบาล • ไม่สามารถแก้โดยเพียงเพิ่มจำนวนแพทย์-พยาบาล / สถานบริการ • แต่ต้องทำที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ลีลาชีวิต) ของประชาชน • ต้องผลักดันให้เกิดนโยบายสาธารณะที่ดี

  11. Global Health 2035. Lancet Dec.3, 2013

  12. “On the basis of evidence from more than 100 studies, the single most important opportunity for national governments worldwide to curb NCDs is to tax tobacco heavily”. The Lancet : 3 December 2013

  13. อัตราภาษีสรรพสามิต, ยอดจำหน่ายบุหรี่, รายได้ภาษีสรรพสามิต และอัตราการสูบบุหรี่ ปีอัตราภาษียอดจำหน่ายภาษีสรรพสามิตราคาบุหรี่ จำนวนผู้สูบบุหรี่ (%) (ล้านซอง) (ล้านบาท) ต่อซอง(บาท) (ล้านคน) 2532 35-55 1,843 14,664 ----------------------------------------------- 2533 55 1,941 15,461 ----------------------------------------------- 2534 55 1,942 15,898 ----------------------------------12.2 2535 55 1,983 15,438 ------------- 12 ----------------------------- 2536 55 2,135 15,345 ------------- 12 2537 60 2,328 20,002 ------------- 15------------------------------ 2538 62 2,171 20,736 2539 68 2,463 24,092 ------------- 18 ----------------12.5 2540 68 2,415 29,755 2542 70 1,810 26,708 ------------- 24 2523 71.5 1,826 28,110 ------------- 28 2544 75 1,727 29,627 ------------- 32 -------------- 11.9 2545 75 1,716 31,247 2546 75 1,904 33,582 2547 75 2,110 36,326 ----------------------------------------------- 2548 75 2,187 39,690------------------------------------------------ 2549 79 1,793 35,646 ------------- 42 --------------- 10.8 2550 80 1,958 41,528 ------------- 45 2551 80 1,837 40,489 ------------- 45 2552 85 1,790 44,167 ------------- 58------------------10.9 2553 85 1,800 53,381 ---------------58 - 2554 85 2,038 57,196 ---------------58------------------11.5 2555 87 2,153 59,873 ---------------65 2556 87 2,172 67,863 แหล่งข้อมูล : เว็บไซต์โรงงานยาสูบ-กรมสรรพสามิต

  14. Obama CareShifting from “Sick care”to“Promotion of Health” Nation Prevention, Promotion and Public Health Council

  15. Global Health 2035. Lancet Dec.3, 2013

  16. Effective Interventions in ChronicDisease Prevention and Control Intervention main focus Population-based Laws and Regulations Tax and Price Interventions Improving the built environment for physical activity Advocacy communication and information Community –based interventions School-based interventions Workplace interventions Screening-CVD, diabetes, HBP, some cancers Clinical prevention-focus on overall risk Disease Management Rehabilitation Palliative care Individual-based

  17. กรณีศึกษาการควบคุมยาสูบกรณีศึกษาการควบคุมยาสูบ • พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 • พ.ร.บ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 • นโยบายการขึ้นภาษียาสูบ พ.ศ.2536-2555 • พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ.2544 • กฎกระทรวง พ.ศ.2548 พ.ร.บ.วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ พ.ศ.2498 • ประกาศกรมประชาสัมพันธ์ พ.ศ.2548 ห้ามประชาสัมพันธ์การทำ CSR

  18. จำนวนคนไทยที่สูบบุหรี่น้อยกว่าที่ควรจะเป็น 5.7 ล้านคน ระหว่าง 2534-2554 ประชากรอายุมากกว่า 15ปี =38.3 ล้านคน ประชากรอายุมากกว่า 15ปี = 53.9 ล้านคน สูบบุหรี่ 2552 ขึ้นภาษีรวม 9 ครั้ง ชาย = 59.3% หญิง = 4.9% 2536 สูบบุหรี่ 2548 - คำเตือนรูปภาพบนซอง - ห้ามตั้งซองบุหรี่ ณ จุดขาย - ห้ามประชาสัมพันธ์ CSR % ชาย = 40.7% หญิง = 2.1% % % 2535 - พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ฯ ห้ามโฆษณาส่งเสริมการขาย - พ.ร.บ.คุ้มครองสุขภาพฯ ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ % % % 2546 รณรงค์สปอตทีวี ห้ามสูบบุหรี่ในภัตตาคาร 2546 สสส.สนับสนุนทุนฯ ห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะทั้งหมด 2548 ร่วมภาคีกฎหมายยาสูบโลก = ล้านคน ตั้งสำนักควบคุมยาสูบ กระทรวงสาธารณสุข กรองทิพย์ = 12 บาท กรองทิพย์ = 58บาท อัตราภาษี = 55% รายได้ภาษี 15,898 ล้านบาท ยอดจำหน่าย 1,942 ล้านซอง อัตราภาษี = 85% รายได้ภาษี 57,196 ล้านบาท ยอดจำหน่าย 2,038 ล้านซอง ถ้าหากอัตราการสูบบุหรี่ในปี พ.ศ.2554 ยังคง = 32% ดังเช่นที่มีในปี พ.ศ. 2534 ปัจจุบันนี้ประเทศไทยจะมีจำนวนผู้สูบบุหรี่ = 17.2 ล้านคน เพราะฉะนั้น จำนวนผู้สูบบุหรี่ขณะนี้น้อยกว่าที่ควรจะเป็น 17.2– 11.5 = 5.7 ล้านคน

  19. The Endgame ประเทศที่ประกาศเป้าหมาย ลดอัตราการสูบบุหรี่ให้เหลือต่ำกว่า 5 % • Ireland 2025 • New Zealand 2025 • Scotland 2034 • Finland 2040

  20. อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป แบ่งตามเพศ 20

  21. อัตราการสูบบุหรี่ประเทศอาเซียนอัตราการสูบบุหรี่ประเทศอาเซียน

  22. Sample of 85% GHW to be implemented in Thailand on 2nd October 2013 Text Pictogram Quitline Number Cigarette Brand

  23. BRAND BRAND BRAND BRAND BRAND BRAND BRAND BRAND BRAND BRAND BRAND Each carton must contain cigarette pack with 10 different GHW

  24. บริษัท ฟิลลิป มอริส บริษัท แจแปนโทแบคโค บริษัท บีเอที ฟ้องศาลปกครอง เพื่อ • ยับยั้งกฎหมาย • ให้ตัดสินล้มกฎหมาย

  25. อุปสรรคในการควบคุมยาสูบรายงานจาก 126 ประเทศ (2012) • การแทรกแซงของบริษัทบุหรี่ • การเมืองไม่ให้ความสำคัญ (Political will) • การขาดงบประมาณสนับสนุน • การขาดการร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ

  26. Tobacco deaths 2000 - 2050 Prabhat Jha – World Bank

  27. Smoking is a chronic disease Dx= Tobacco dependency F – 17, ICD – 10 rev. WHO

  28. Smoking prevalence in major NCDs (%) Male Female • Diabetes =38.71.9 • Hypertension =31.32.4 • Heart disease =18.72.4 • Stroke =22.73.6 • COPD =32.05.6 Thailand’s 4th National Health Examination ,2009.

  29. Smoking Cessation • 34.6% of smoker visited on HCPs (4.49 million) • 65.6% of smokers were asked if they smoked tobacco by HCPs (2.93 million) • 55.8% of smokers received advice to quit smoking by HCPs (1.63 million) Global Adult Tobacco Survey : Thailand 2011

  30. การประเมินสมรรถนะการควบคุมยาสูบ ของประเทศไทย (WHO 2551) • ยังขาดระบบการช่วยรักษาให้เลิกบุหรี่ที่บูรณาการระดับประเทศ • กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญกับการช่วยให้เลิกบุหรี่น้อยกว่ามาตรการควบคุมยาสูบอื่น ๆ • การรักษาการเลิกบุหรี่ยังไม่อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ของ สปสช./สปส

  31. ยารักษาการเลิกบุหรี่ไม่อยู่ในบัญชีหลักแห่งชาติยารักษาการเลิกบุหรี่ไม่อยู่ในบัญชีหลักแห่งชาติ • การใช้บริการเลิกบุหรี่ยังอยู่ในระดับที่ต่ำ • ขาดการฝึกอบรมการช่วยเลิกบุหรี่ที่มีมาตรฐานระดับประเทศ

  32. ข้อเสนอแนะ • ให้มีระบบการรักษาการเลิกสูบบุหรี่ • เน้นการให้ “Brief treatment intervention” เข้าสู่ระบบการให้บริการทุกระดับ • ให้การรักษาและยาอดบุหรี่อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ สปสช./สปส. • รณรงค์ให้ผู้สูบบุหรี่ลงมือเลิก

  33. Global NCD reduction targets • 25% reduction in NCDs mortality • 30% reduction in smoking prevalence • 10% reduction in alcohol use • 30% reduction in salt intake • …………… we all can help in our daily work

More Related