1 / 23

การใช้วารสาร

หน้าหลัก. การใช้วารสาร. ให้บริการที่ชั้น 2 สถาบันวิทยบริการ ทั้งฉบับปัจจุบันและฉบับเย็บเล่ม. วารสารฉบับปัจจุบัน (current issue) คือ ฉบับที่ตีพิมพ์ล่าสุด จัดเรียงบนชั้นวารสาร โดยเรียงตามลำดับอักษรของชื่อวารสาร โดยแยกภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ

vera-hanson
Download Presentation

การใช้วารสาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน้าหลัก การใช้วารสาร ให้บริการที่ชั้น 2 สถาบันวิทยบริการ ทั้งฉบับปัจจุบันและฉบับเย็บเล่ม วารสารฉบับปัจจุบัน(current issue) คือ ฉบับที่ตีพิมพ์ล่าสุด จัดเรียงบนชั้นวารสาร โดยเรียงตามลำดับอักษรของชื่อวารสาร โดยแยกภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ วารสารฉบับเย็บเล่ม(bounded issue) คือ วารสารฉบับปีเก่า นำมารวมเป็นปี เย็บรวม เป็นเล่มปกแข็งให้บริการ จัดแยกไว้ต่างหาก จัดเรียงตามลำดับอักษรของชื่อวารสารและปีที่ออกวารสาร ปัจจุบันมีฉบับอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งสามารถอ่านจากเว็บได้เหมือนกับแบบ ตีพิมพ์เป็นเล่ม

  2. หน้าหลัก ฐานข้อมูลวารสารวิชาการ ฉบับตีพิมพ์ของ Chulalinet ฐานข้อมูล Chulalinet มีข้อมูลวารสารวิชาการที่บอกรับโดยห้องสมุด ทุกแห่งในจุฬาฯ ท่านสามารถตรวจสอบรายชื่อ (Journal List) ซึ่งเรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของชื่อวารสาร พร้อมทั้งระบุชื่อห้องสมุด ที่มีวารสารเล่มนั้น ๆ ไว้ให้ด้วย

  3. หน้าหลัก การสืบค้นบทความที่ต้องการ ถ้ามีชื่อบทความจากวารสารที่ท่านต้องการแล้ว เช่น M. Cremona. “The Draft constitutional treaty:external relations and external action”.Common Market Law Review 40, 6 (December 2003): 40-48.

  4. หน้าหลัก International Information Center

  5. นำชื่อวารสารมาสืบค้นจาก Journal List ของจุฬาฯ จะเห็นว่า วารสารดังกล่าว มี และอยู่ที่ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ เพียงแห่งเดียวท่านต้องไปใช้ที่ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ ชั้น 5 สถาบันวิทยบริการ หน้าหลัก แต่ ... ถ้าวารสารที่ต้องการ มีอยู่ในห้องสมุดหลายแห่งในจุฬาฯ สามารถ เลือกใช้ห้องสมุดตามที่สะดวก

  6. แต่... ถ้าไม่มีในห้องสมุดจุฬาฯ ลองตรวจสอบ ที่ Union List of Serial ซึ่งเป็นรายการชื่อ วารสารที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่าง ๆบอกรับเป็นสมาชิกอยู่ และขอใช้บริการยืมระหว่าง ห้องสมุด ได้ที่เคาท์เตอร์ยืม-คืน ชั้น 1 สถาบันวิทยบริการ หรือลองตรวจสอบ ดูที่ Journal Link

  7. หน้าหลัก หรือจะใช้บริการพิเศษ e-Service ของศูนย์สารสนเทศนานาชาติ ในกรณีที่วารสารที่คุณต้องการนั้น เกี่ยวกับยุโรปศึกษา บริการพิเศษ e-Service ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ ชั้น 5 ฝ่ายบริการสารสนเทศนานาชาติ ได้จัดทำบริการ e-Serviceให้แก่สมาชิก ซึ่งมี 2 รูปแบบ ให้ผู้รับบริการได้เลือกบอกรับ ดังนี้

  8. หน้าหลัก • e-Current Contentsจัดทำสารบัญวารสารของศูนย์ฯ ส่งให้ทาง • mail ในรูปของ Excel file หากสมาชิกต้องการบทความฉบับเต็ม • สามารถขอใช้บริการได้ที่ศูนย์ฯ จะมาติดต่อด้วยตัวเอง หรือโทรศัพท์ที่เบอร์ • 0-2218-2953 หรือ e-mail มาที่ watinee.l@car.chula.ac.th • e-Bibliographyจัดส่งรายชื่อหนังสือใหม่ ให้ทุก ๆ 2 เดือน ในรูป • ของ Excel File เช่นเดียวกัน บริการทั้ง 2 รูปแบบ สามารถสมัครสมาชิกผ่าน e-mail: watinee.l@car.chula.ac.thหรือ โทรศัพท์ 0-2218-2953หรือที่เคาท์เตอร์บริการของศูนย์ฯที่ชั้น 5 <<e-Form>>

  9. การใช้หนังสือพิมพ์ ห้องอ่านหนังสือพิมพ์จัดแยกเป็นพิเศษอยู่ที่ชั้น 2 หนังสือพิมพ์รายวันจัด เรียงตามชื่อ ขึ้นชั้นเวลา 8.30 น. ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ ส่วนวันเสาร์เวลา9.30 น. มีฉบับย้อนหลัง 1 เดือน ไว้บริการ ที่ห้องหนังสือพิมพ์ฉบับ ย้อนหลังที่ชั้น 2 เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ ท่านสามารถอ่านข่าวที่น่าสนใจของหนังสือพิมพ์ที่คัดเลือกจัดทำ เป็นรูปอิเล็กทรอนิกส์ ได้ที่หน้า Clipping online ซึ่งมีข่าวประเภทต่าง ๆ ไว้ให้บริการ เช่น ข่าวการศึกษา ข่าวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ข่าวเทคโนโลยีสารสนเทศ ข่าวเพื่อสุขภาพ ข่าวในแวดวงห้องสมุด เป็นต้น หน้าหลัก

  10. World Wide Web หน้าหลัก การใช้ข้อมูลจาก WWW สารสนเทศที่นำลงใน www เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่อยู่คงทนถาวรเหมือนสิ่งตีพิมพ์ อาจจะหายไป เนื่องจากเซิร์ฟเวอร์ปิดบริการ หรือจากสาเหตุอื่น ๆ การใช้ข้อมูลจาก www จึงควรจะพิมพ์หรือบันทึกหน้าเว็บเพจนั้นเก็บไว้ เพราะจะมีละเอียดเกี่ยวกับแหล่งที่มา (URL) ชื่อผู้แต่งวัน เดือน ปี

  11. หน้าหลัก ข้อควรระวัง ปัจจุบันยังไม่มีการตรวจสอบสารสนเทศที่อยู่บนเว็บ ใคร ๆ ก็สามารถนำสารสนเทศขึ้นเว็บได้ สารสนเทศที่เป็นประโยชน์นั้นมีมาก แต่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องก็มีไม่น้อย จึงควรพิจารณาอย่างรอบคอบ ตรวจสอบ ให้แน่นอนว่า ที่ไหน และ ใคร เป็นผู้ให้สารสนเทศแต่ละชิ้นที่จะนำไปใช้ (ดูเพิ่มเติมในบทที่ 5 การประเมินสารสนเทศ)

  12. หน้าหลัก ใช้ Internet เวลาไหนดีที่สุด เวลาเช้าในประเทศไทย จะใช้ Internet ได้เร็วกว่าตอนบ่าย เพราะความแตกต่างกัน ทางด้านเวลาของประเทศไทยและประเทศแถบยุโรปและสหรัฐอเมริกา เช้าในประเทศไทย เท่ากับตอนเลิกงานของประเทศในแถบนั้นแล้ว

  13. หน้าหลัก URL : Uniform Resource Location บ้านเลขที่ของ website เมื่อลอง Login เข้าไปใน Internet แล้ว ควรมีการวางแผนการเดินทางท่องโลก Cyber ก่อน ที่ที่เราจะไปบนเว็บนี้ โดยทั่วไปเรียกว่า Website มีหน้าที่เฉพาะเจาะจงลงไปเรียกว่า Webpageและหน้าปกคือ Homepage และในการท่อง Internet นั้นจะท่องผ่าน Browser ที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Microsoft Explorer และ Netscape และที่แถบยาวตอนบนของเว็บจะมีช่องแจ้งที่อยู่ (Address) ของเว็บไซต์เอาไว้ และนี่คือ URL หรือบ้านเลขที่ของเว็บไซต์นั่นเอง

  14. คลิกที่ favorites เลือก add to favorties 1 เปลี่ยนชื่อได้ตามใจชอบ เลือก OK 2 4 3 หน้าหลัก Favorite เมื่อชอบใช้เว็บไซต์ใด อยากจะเก็บบ้านเลขที่นั้นไว้ เผื่อจะเรียกใช้อีก สามารถเก็บไว้ที่ favorite ซึ่งง่ายต่อการเรียกใช้ภายหลัง ไม่ต้องจดจำ หรือลอกไว้ สามารถทำได้โดย

  15. หน้าหลัก คุณเข้าใจ Dot ดอท ท้าย web ว่าอย่างไร สำหรับ website ของประเทศอื่น ๆ ที่ไม่ใช่สหรัฐอเมริกาแล้ว จะมีชื่อย่อประเทศ ต่อท้ายด้วย

  16. World Wide Web สืบค้นบน เครื่องมือในการสืบค้น (Search Tools) อาจแบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ Subject Directory / Web Directory คือแหล่งรวม Website ที่จัดไว้ให้เป็นหมวดหมู่ ทำให้ง่ายและสะดวกกับการหาข้อมูลยิ่งขึ้น จากเดิมที่ต้องรู้ URL ที่ถูกต้องแน่นอนจึงจะหาได้ ที่รู้จักและเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลาย เช่น หน้าหลัก

  17. ตัวอย่าง Search Engines อื่น ๆ หน้าหลัก Search Engines เป็นเครื่องมือในการสืบค้น หรือ ค้นคืน เอกสาร ไฟล์ หรือ ข้อมูลต่าง ๆ ตามคำค้นที่พิมพ์ลงในช่องสืบค้น โดยจะสืบค้นจาก ฐานข้อมูล หรือ จาก เว็บไซต์ต่าง ๆ บน Internet หรือ จาก Public Server บน World Wide Web (Compact Oxford English Dictionary, 2004)

  18. ตัวอย่าง Meta-Search Engines อื่น ๆ หน้าหลัก Meta-Search Engines เป็นเครื่องมือในการสืบค้น หรือ ค้นคืน เอกสาร ไฟล์ หรือ ข้อมูลต่าง ๆ ตามคำค้นที่พิมพ์ลงในช่องสืบค้น โดยจะทำการสืบค้นจาก Search Engine ต่าง ๆ บน internet (UC Berkeley: Teaching Library Workshops, 2004)

  19. หน้าหลัก ตัวอย่าง Search Engines ไทย

  20. หน้าหลัก e-mail e-mail เป็นบริการทาง Internet ที่แพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน สามารถรับและส่งข่าวถึงกันและกันจากทั่วทุกมุมโลกได้อย่างรวดเร็วเกือบจะเรียกได้ว่าเพียงเสี้ยววินาทีและที่สำคัญคือ ค่าใช้จ่ายถูก จากบริการ e-mail นี้ สามารถจะได้รับข่าวสารข้อมูลจากพวก mailing lists ต่าง ๆ ได้

  21. หน้าหลัก mailing list เป็นกลุ่มผู้ใช้ e-mail ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน คล้ายกัน รวมกลุ่ม กันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหัวเรื่องที่สนใจ เช่น Euro-lexEURO-LEX@LISTSERV.GMD.DE mailing list ของผู้ที่สนใจสารสนเทศด้านกฎหมายของยุโรป TESL-Llisterv@cunym.cuny.edu mailing list ของกลุ่มครูผู้สอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง ผู้ที่สนใจสามารถส่งข้อความ Subscribe แล้วตามด้วย นามสกุล และชื่อ ส่งไปที่ e-mail address เหล่านั้น

  22. สร้างสรรค์เนื้อหา โดย นางสาวยุพิน จันทร์เจริญสิน แต้มสี แต่งภาพ โดย นางสาววาทินีแซ่ลิ้ม

More Related